วันเสาร์ที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2556

รัฏฐาธิปัตย์พันธมิตร


ช่วงปี พ.ศ. 2548 มีประชาชนในประเทศส่วนหนึ่ง ที่คัดค้านและต่อต้าน รัฐบาลพรรคไทยรักไทย ที่มี พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร เป็นนายกรัฐมนตรี โดยก่อตั้งกลุ่ม พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย และนำไปสูการทำรัฐประหาร ในวันที่ 19 กันยายน 2549 โดย ฝ่ายทหาร คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (คปค.) ภายหลัง ส่งผลให้ พรรคประชาธิปัตย์ ได้จัดตั้งรัฐบาลในค่ายทหาร เมื่อ ปี พ.ศ. 2551 ทั้งๆที่ผลการเลือกตั้งทั่วไป พ.ศ. 2550 พรรคพลังประชาชน ชนะการเลือกตั้ง และได้จัดตั้งรัฐบาลผสมไปแล้ว แต่ กลุ่ม พธม.ได้กลับมาชุมนุมอีกครั้งในปี พ.ศ. 2551และศาลรัฐธรรมนูญได้มีคำวินิจฉัยคดียุบพรรคพลังประชาชนและพรรคร่วมรัฐบาลอีก 2 พรรค จึงถือเป็นเหตุการณ์ทางการเมืองของกลุ่ม พธม.พรรคประชาธิปัตย์ และกลุ่ม คปค. อย่างพร้อมสรรพ ซึ่งหมายถึง กลุ่มที่ยึดติดกับการฝักใฝ่ในอำนาจบารมีระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ การปฏิวัติรัฐประหาร และการใช้อำนาจศาลรัฐธรรมนูญ เพื่อละเมิดอำนาจอธิปไตย ที่เป็นของปวงชน โดยประชาชน และเพื่อประชาชน ตามระบอบประชาธิปไตย และเป็นวิธีการที่ละเมิดต่อหลักสิทธิมนุษยชน อันเป็นนิรันดร์ อย่างพร้อมสรรพ
ดังนั้น วิธีการและคำเรียกร้องของนายสุเทพ เทือกสุบรรณ เลขาธิการกปปส. จึงสอดคล้องกับวิธีการและคำเรียกร้องของกลุ่ม พธม.ในอดีต และ คำว่า สภา่ประชาชน และรัฐบาล ตามคำเรียกร้องของนายสุเทพ เทือกสุบรรณ เลขาธิการ กปปส. ก็คือ สภาที่มาจาการแต่งตั้งบุคคลที่ฝักใฝ่ในระบอบรัฐฎาธิปัตย์พันธมิตร และรัฐบาล ก็คงต้องมาจากการคัดเลือกจาก สภารัฐฏาธิปัตย์พันธมิตร อย่างพร้อมสรรพ ...ถ้าเป็นเช่นนี้ ก็เรียกว่า "การเมืองการปกครองในระบอบสาธารณรัฐฏาธิปัตย์พันธมิตร หรือระบอบเผด็จการอนุรักษนิยม" แล้วประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศ ซึ่งถือเป็นกลุ่มคนส่วนใหญ่ของโลก คงไม่ยอมรับการปฏิรูปประเทศตามแบบฉบับถอยหลังของ กลุ่มรัฐฏาธิปัตย์พันธมิตร เพราะประเทศชาติกำลังเดินหน้าเข้าสู่เวที่นานาชาติ ด้วยการเมืองการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ซึ่งอำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชน ที่มาจากการใช้สิทธิเสรีภาพ ด้วยความเสมอภาคและภราดรภาพ ของประชาชน ทั้งทางเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง ตามวิถีทางการเมืองระบอบประชาธิปไตย แต่การปฏิวัติรัฐประหารระบอบประชาธิปไตย ทั้งทางตรงและทางอ้อมถือเป็นการกระทำที่เป็นปฏิปักษ์ต่อรัฐธรรมนูญ ปฏิป้กษ์ต่อหลักทศพิธราชธรรมของสถาบันประมุข อย่างพร้อมสรรพ และ การกล่าวอ้างถึงมาตรา 3 และเพื่อใช้มาตรา 7 ขอนายกพระราชทานและรัฐบาลอย่างพร้อมสรรพ จึงถือเป็นการขัดต่อรัฐธรรมนูญและขัดต่อหลักทศพิธราชธรรมขององค์พระประมุขของประเทศชาติ ในระบอบประชาธิปไตย อย่างชัดแจ้ง

วันพฤหัสบดีที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2556

ทรงพระเจริญ


วันเสาร์ที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556

เจตนารมณ์พลเรือน...สามัญชน


ประเด็นนายสุเทพ  เทือกสุบรรณ แกนนำผู้ชุมนุม ประกาศล้มล้างรัฐบาลและระบอบประชาธิปไตยผมมองว่า ระบอบประชาธิปไตย มีทางออกที่เสมอภาค ด้วยสิทธิเสรีภาพ ตามระบอบประชาธิปไตย คือการเลือกตั้งทั่วไป แต่ในกรณีที่แกนนำผู้ชุมนุม นายสุเทพ เทือกสุบรรณ ประกาศเดินหน้าล้มล้างรัฐบาลและระบอบประชาธิปไตย ซึ่งหมายความว่า ไม่ยินยอมให้มีวิถีทางแห่งระบอบประชาธิปไตย  ตามกฎหมายรัฐธรรมนูญ นั้นคือ การเลือกตั้งทั่วไป ถึงแม้รัฐบาลจะประกาศยุบสภาหรือลาออก  จึงหมายความได้ว่า ต้องการล้มล้างรัฐบาลและระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ที่มาตั้งแต่วันที่ 24 มิถุนายน 2475 จนถึงปัจจุบัน
ข้อน่าสังเกตประเด็น ศ.ดร. สมคิด เลิศไพฑูรย์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้เสนอให้นายกรัฐมนตรีประกาศยุบสภา ซึ่งวิธีการที่ท่านอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เสนอ ไม่แปลกแยกจากประเทศที่มีการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ที่คำนึงถึงสิทธิเสรีภาพ ความเสมอภาคและภราดรภาพ ทั้งทางเศรษฐกิจ สังคมและการเมืองระบอบประชาธิปไตย   และก็เป็นข้อเสนอที่ไม่แปลกแยกแตกต่างไปจากเจตนารมณ์ของความเป็นมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ซึ่งเป็นมหาวิทยาลัย ได้ถือกำเนิดมาจากความคิดริเริ่มของ ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ รัฐบุรุษอาวุโส  ผู้นำคณะราษฎร์ สายพลเรือน เปลี่ยนแปลงการเมืองการปกครองระบอบจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ มาเป็นระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2475  และมีมาจนถึงปัจจุบัน  
            แต่ที่น่าจะแปลกแยกแตกต่างไปจากเจตนารมณ์ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ซึ่งเป็นมหาวิทยาลัยที่ถือกำเนิดมาจากความคิดริเริ่มของ ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ รัฐบุรุษอาวุโส คือ เมื่อนายุเทพ     เทือกสุบรรรณ แกนนำผู้ชุมนุมเพื่อล้มล้างรัฐบาลและระบอบประชาธิปไตย ตามกฎหมายรัฐธรรมนูญ ประกาศไม่ยอมรับข้อเสนอใดๆจากรัฐบาล ซึ่งหมายความว่า รัฐบาลจะยุบสภา/ลาออกเพื่อให้มีการเลือกตั้งทั่วไป   นายสุเทพ เทือกสุบรรณ แกนนำผู้ชุมนุมก็ไม่ยอมรับวิถีทางแห่งระบอบประชาธิปไตย  และถ้าศ.ดร. สมคิด  เลิศไพฑูรย์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์  ได้มีส่วนเกี่ยวข้องทั้งทางตรงและทางอ้อม(ล้อเสือออกจากถ้ำ) สนับสนุนให้นายสุเทพ เทือกสุบรรณ แกนนำผู้ชุมนุมล้มล้างรัฐบาล ที่มาจากวิถีทางระบอบประชาธิปไตย ผมมองว่าแนวคิดและข้อเสนอของท่านอธิการบดี ขัดและแย้งต่อเจตนารมณ์ของความเป็นมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อย่างสิ้นเชิง...หรือขัดและแย้งต่อเจตนารมณ์พลเรือน สามัญชน อันคงไว้ซึ่งคนของชาติ ทุกเชื้อชาติ ศาสนา และสถาบันประมุขของประเทศชาติ หรือการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข...

ดังนั้น  เจตนารมณ์การเมืองการปกครองของพลเรือน..สามัญชน  คือการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข แบบมีรัฐสภา และสมาชิกแห่งรัฐสภา ต้องมาจากการใช้สิทธิเสรีภาพ ความเสมอภาคและภราดรภาพ ทั้งทางเศรษฐกิจ สังคมและการเมืองระบอบประชาธิปไตย ของประชาชน เลือกตั้งเข้ามา

วันเสาร์ที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556

ประชาธิปไตยไทยรักไทย โดยพลังประชาชน เพื่อไทย

โดย  SUN DRAGON
ประเด็นถ้ามีการยุบสภาก่อนครบวาระ ฐานเสียงพรรคเพื่อไทยภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือและในภาคกลางตามลำดับ และกทม.บ้าง คะแนนความนิยมในระบอบประชาธิปไตย ไทยรักไทย โดยพลังประชาชน เพื่อไทย ก็คงยังแข็งแกร่ง และผลการเลือกตั้งจากระบอบประชาธิปไตย ไทยรักไทย โดยพลังประชาชน เพื่อไทย ตามกฎหมายรัฐธรรมนูญ ก็คงยังท่วมท้นพรรคฝ่ายค้านเช่นเดิม ถึงแม้พรรคฝ่ายค้านและกลุ่มผู้ชุมนุมจะรณรงค์แบบสุดฤทธิ์ สุดเดช อย่างไร เพื่อจะดึงเสียงจากพลังเงียบ ไปเพิ่มพูนฐานเสียงให้ตนเอง แต่เชื่อว่าพลังเงียบก็คงยังวางตนไม่ฝักใฝ่ฝ่าย โดยเฉพาะกับฝ่ายที่พยายามโค่นล้มระบอบประชาธิปไตย ไทยรักไทย ของพลังประชาชน เพื่อไทย เมื่อถึงเวลา พลังเงียบก็คงต้องพร้อมใจปกป้องระบอบประชาธิปไตยไทยรักไทย โดยพลังประชาชน เพื่อไทย ตามกฎหมายรัฐธรรมนูญ
ดังนั้น การที่พรรคฝ่ายค้านแพ้การเลือกตั้งทุกครั้ง ไม่ได้หมายความว่าพรรคฝ่ายนค้านไร้ผลงาน แต่เป็นเพราะพรรคฝ่ายค้านมุ่งหวังโค่นล้มทักษิณ มุ่งหวังโค่นล้มรัฐบาลที่มาจากระบอบประชาธิปไตย มุ่งหวังโค่นล้มพรรคการเมืองฝ่ายตรงข้าม และมุ่งหวังโค่นล้มนักการเมืองฝ่ายตรงข้าม โดยวิธีการที่ขัดและแย้งต่อระบอบประชาธิปไตย ซึ่งหมายถึง การทำรัฐประหารการเมืองระบอบประชาธิปไตยอย่างพร้อมสรรพ ทั้งทางตรงและทางอ้อม และนี้คือสัจธรรมแห่งความพ่ายแพ้ของพรรคฝ่ายค้านและกลุ่มอนุรักษ์นิยม ทั้งในทางการเมืองระบอบประชาธิปไตย เศรษฐกิจ และสังคม อย่างพร้อมสรรพ ต่อ ประชาธิปไตยไทยรักไทย ของพลังประชาชน เพื่อไทย อันคงไว้ซึ่งชาติ ศาสนา และสถาับันประมุขของประเทศชาติ โดยยึดหลักคุณธรรมและสิทธิมนุษยชน อย่างพร้อมสรรพ
แต่การยุบสภาไม่ใ่ช่มาตรฐานเป้าหมายระบอบประชาธิปไตย ไทยรักไทย โดยพลังประชาชน เพื่อไทย ที่จะพัฒนาเศรษฐกิจ สังคมและการเมืองระบอบประชาธิปไตย อันคงไว้ในความเป็นประเทศชาติของมนุษยชาติ อย่างพร้อมสรรพ
แต่การดำรงไว้ประชาธิปไตย โดยพลังประชาชน เพื่อไทย ตามระบอบประชาธิปไตย เป็นการดำรงไว้ระบอบประชาธิปไตยและกฎหมายรัฐธรรมนูญระบอบประชาธิปไตยของประเทศชาติ อย่างพร้อมสรรพ

วันอังคารที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556

SMART OF DEMOCRACY

BY SUN DRAGON                                                                 AT  THAILAND                                                                                                                                             
                                                                                               
วันที่ 20 พฤศจิกายน 2556
เรื่อง   ศาลรัฐธรรมนูญ จะมีคำวินิจฉัยการแก้ไขรัฐธรรมนูญ มาตรา 190 ที่มาของสมาชิกวุฒิสภา ว่าขัดรัฐธรรมนูญ มาตรา 68  หรือ ไม่
เรียน   กลุ่มผู้ชุมนุมคัดค้านและต่อต้านรัฐบาล และรัฐบาล และกลุ่มผู้ส่งเสริม สนับสนุนรัฐบาล
          ในขณะที่ ฝ่ายค้านทั้งในสภาและนอกสภา ได้ร่วมตัวกันชุมนุมคัดค้านและต่อต้านรัฐบาล  นำโดยสมาชิกพรรคปชป.อย่างพร้อมสรรพ นอกจากนี้ ยังมีในนาม กทป.และ คปท.เป็น 3 ประสาน  3 ประเด็น
          ประเด็นที่ 1 ร่าง พ.ร.บ.นิรโทษกรรมทางการเมืองแบบสุดซอย ในประเด็นนี้รัฐบาลและ
รัฐสภาได้ถอยและหยุด อย่างเรียบร้อยไปแล้ว เพราะแม้แต่ กลุ่ม นปช.หรือกลุ่มคนเสื้อแดงที่ถือว่าเป็นฐานเสียงหรือข้าวต้มมัดทางการเมืองของพรรคการเมืองรัฐบาลก็ยังคัดค้านและต่อต้าน ด้วยเพราะมีการนิรโทษกรรมในคดีการสลายการชุมนุมที่สี่แยกราชประสงค์ ช่วงระหว่างวันที่ 13- 19 พฤษภาคม 2553
          ประเด็นที่ 2 คดีปราสาทเขาพระวิหาร ซึ่งประเด็นนี้รัฐบาลและรัฐสภาประเทศไทย ไม่มี
ส่วนร่วมในการพิจารณาหรือพิพากษาคดี ถึงคำพิพากษาจะออกมาเป็นบวกหรือเป็นลบ แต่ คำพิพากษาของศาลโลก มีมิติเป็นเอกฉันท์ ไม่ได้ชี้ชัดว่าพื้นที่พิพาทบริเวณ 4.6 ตร.กม. ควรตกอยู่ใต้อธิปไตยของประเทศใด ระหว่างไทยและกัมพูชา และคำพิพากษายังของให้ทั้ง 2 ประเทศได้ร่วมมือกันในการดูแลมรดกโลก หรืออาจชี้นำให้ทั้ง2ประเทศใช้โมเดลมรดกโลก 2 แผ่นดินก็เป็นได้ ซึ่งทั้ง2 ประเด็นดังกล่าวนี้ จึงเป็น 2 ประเด็นที่ฝ่ายค้านทั้งในสภาและนอกสภา ไม่สามารถเพิ่มเติมเต็มพลังอาญาสิทธิ ที่ขัดและแยังต่อระบอบประชาธิปไตยและกฎหมายรัฐธรรมนูญ ได้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล เพราะ พลังอาญาสิทธิของฝ่ายค้านหรือกลุ่มผู้ชุมนุม ไม่สามารถผ่านพลังอาญาสิทธิของหลักคุณธรรม  หลักสิทธิมนุษยชน หลักความปรองดองแห่งชาติ ที่ปราศจาก พระราชบัญญัติ และคงไว้ซึ่งระบอบประชาธิปไตย ตามกฎหมายรัฐธรรมนูญ อย่างพร้อมสรรพ ของรัฐบาลยับยั้งไว้
       ประเด็นที่ 3 การแก้ไขรัฐธรรมนูญ มาตรา 190 ที่มาของสมาชิกวุฒิสภา ซึ่งตัวแทนผู้
คัดค้านและต่อต้าน ทั้ง 3 กลุ่มได้ยื่นให้ศาลรัฐธรรมนูญ ตีความว่า ขัดรัฐธรรมนูญ มาตรา 68 หรือ  ไม่   และศาลรัฐธรรมนูญ จะอ่านคำวินิจฉัย ในวันที่ 20 พฤศจิกายน 2556 ซึ่งเป็นประเด็นที่ฝ่ายคัดค้านและต่อต้าน ทั้ง 3 กลุ่ม มุ่งหวังเป็นอย่างยิ่ง เพราะ ถ้าผลคำวินิจฉัยออกมาเป็นลบต่อรัฐบาลและรัฐสภา ก็หมายความว่า ผลพ่วงดั่งผลพ่วงการรัฐประหาร เมื่อ วันที่ 19 กันยายน 2549 จะเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล ซ้ำเติมระบอบประชาธิปไตย อีกครั้งได้  ซึ่งในประเด็นนี้ ถ้าพูดอย่างตรงไปตรงมา ไม่อายศาลรัฐธรรมนูญ ไม่อายผู้รู้ แต่ไม่ใช่ไปละเมิดหรือไม่รู้จักที่ต่ำที่สูง ดั่งคำโบราณว่าไว้  แต่อย่างใด
       ผมมีความคิดเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ว่า การแก้ไขรัฐธรรมนูญ มาตรา 190 ที่มาของสมาชิก
วุฒิสภา ไม่ขัดหรือเข้าข่ายขัดและแย้งต่อรัฐธรรมนูญ มาตรา 68  แต่อย่างใด เพราะ เป็นการดำเนินการตามระบอบประชาธิปไตย ตามกฎหมายรัฐธรรมนูญ  และเป็นการ ต่อยอดการปฏิรูปการศึกษา สู่การปฏิรูปการเมืองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข  เป็นสำคัญ ถึงเป็นพรรคฝ่ายค้านหรือกลุ่มผู้ชุมนุมทั้ง 3 กลุ่มร่วมกัน ก็ยังไม่สามารถที่จะใช้เป็นอภสิทธิ์ชน ดำเนินการเปลี่ยนแปลงการเมืองการปกครองไปเป็นอย่างอื่นได้ หรือจะแบ่งแยกดินแดนให้ไปเป็นอย่างอื่นได้ เพราะ ระบอบประชาธิปไตย เป็นเจตนารมณ์ตามกฎหมายรัฐธรรมนูญของประเทศชาติ  เพื่อทุกเชื้อชาติ ทุกศาสนา อันมีสถาบันพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข  จึงไม่มีฝ่ายใดแอบแฝงเจตนารมณ์ที่ขัดและแย้งต่อรัฐธรรมนูญ มาตรา 68 ที่นำไปสู่การล้มล้างระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขได้         ในกรณีที่ผลคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ ออกมาเป็นบวกต่อรัฐบาลและรัฐสภา ก็ไม่ถือเป็นผลดีหรือผลร้ายของฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง แต่ถือเป็นผลดีต่อระบอบประชาธิปไตย ตามกฎหมายรัฐธรรมนูญของประเทศชาติ อย่างพร้อมสรรพ ที่สุด  (SMART OF DEMOCRACY )






วันพุธที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2556

ร่างกฎหมายวัฒนธรรม ทางเศรษฐกิจ สังคมและการเมืองระบอบประชาธิปไตย พุทธศักราช...( bill the culture , The economical , the social and democracy politics , the Buddhist era is ...) ,


โดย   สายชน อหิงสา

     ประเด็น คณะรัฐมนตรี ผ่านร่างพระราชบัญญัติวัฒนธรรมว่าด้วยมรดกทางวัฒนธรรมจับต้องไม่ได้ พ.ศ....
จากเจตนารมณ์ของร่างกฎหมายดังกล่าวนี้ ถือเป็นการปฏิรูปการเมือง  ทั้งทางเศรษฐกิจ สังคมและการเมืองระบอบประชาธิปไตย ที่มีความตระหนักถึงการใช้สิทธิเสรีภาพ ความเสมอภาคและภราดรภาพ ที่เป็นไปเพื่อให้ทุกเชื้อชาติ ศาสนา ให้ดำรงอยู่ในชาติ อย่างมีศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษยชาติ อันจะนำมาซึ่งสันติภาพและสันติสุข อย่างเสมอภาค และที่สำคัญถือเป็นการป้องกันและแก้ไขการใช้สิทธิเสรีภาพ ความเสมอภาค และภราดรภาพ ที่จะนำมรดกวัฒนธรรม ไปใช้ในทางสร้างความเสียหายแก่ชาติ ทั้งทางเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง เช่น การกล่าวอ้างนำสถาบันประมุขของประเทศ เพื่อล้มล้างฝ่ายตรงข้ามทางการเมือง หรือ ก่ออาชญากรรมทางการเมือง หรือการใช้ความเชื่อทางศาสนาเข่นฆ่ามนุษยชาติ อย่างพร้อมสรรพ
     ดังนั้น ร่างพระราชบัญญัติวัฒนธรรมว่าด้วยมรดกทางวัฒนธรรมจับต้องไม่ได้ พ.ศ....จึงถือเป็นร่างกฎหมาย ปฏิรูปประเทศหรือการเมือง อย่างพร้อมสรรพ ทั้งทางเศรษฐกิจ สังคมและการเมืองระบอบประชาธิปไตย  แต่ร่างกฎหมายวัฒนธรรมว่าด้วยมรดกทางวัฒนธรรมจับต้องไม่ได้ พ.ศ....ไม่ใช่กฎหมายที่จะละเมิดสิทธิมนุษยชนหรือสิทธิเสรีภาพ ความเสมอภาคและภราดรภาพตามกฎหมายรัฐธรรมนูญ แต่เป็ร่างกฎหมายที่ให้สิทธิเสรีภาพ ความเสมอภาคและภราดรภาพแก่ทุกเชื้อชาติ ศาสนาในชาติ ทั้งเศรษฐกิจ สังคมและการเมืองระบอบประชาธิปไตย อย่างพร้อมสรรพ จึงถือเป็นร่างกฎหมายที่จะรักษาไว้ซึ่งอัตลักษณ์ของทุกเชื้อชาติ ศาสนาหรือความเป็นชาติ อย่างสมบูรณ์ แต่ ไม่ถือว่าเป็นร่างกฎหมายที่จะรักษาไว้ซึ่งอัตลักษณ์ของทุกเชื้อชาติ ศาสนา โดยสร้างความอัปลักษณ์หรืออัปยศ ให้แก่มนุษยชาติ อย่างพร้อมสรรพ
     ssue , cabinet , change culture bill about the cultural heritage can't touch , the Buddhist era is ..... , from the intention of bill aforementioned this , regard politics reform , both economical of , the social and democracy politics , at have the awareness arrives at using liberty and rights , the equality and the brotherhood , that happen for , every race , religion , give hold in the nation , prestigely of the be mankind will bring about the peace and the calmness , is equally , and at important regard the prevention and correct using liberty and rights , equality , and the brotherhood , to lead culture heritage , go to use in the sense of build the damage to the nation , both economical of , the social and politics , such as , the quotation leads leader institute of the country , for overthrow political antagonist , or ,  , built political crime , or , using belief religion way kill the mankind , completely , thus , culture bill about the cultural heritage can't touch , the Buddhist era is ..... , then regard bill , reform the country or , politics , completely , both economical of , the social and democracy politics , but , bill the culture about the cultural heritage can't touch , the Buddhist era is ..... , be not the law will to infringe the human rights or , liberty and rights , the equality and the brotherhood according to law the constitution , but , bill at authorize the freedom , the equality and the brotherhood old every race , a religion in the nation , both of the economy , the social and democracy politics , completely , then regard bill to heal keep which , steal of every race , a religion is or , the be nation , completely , but ,  , do not be regarded as be bill to heal keep which , steal of every race , religion , by build the ugliness or , disgrace , to the mankind , completely

วันอังคารที่ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2556

สิทธิเสรีภาพ ความเสมอภาคและภราดรภาพ ที่ทำลายชาติ(liberty and rights , the equality and the brotherhood , at destroy the nation )






เจตนารมณ์ระบอบประชาธิปไตย คือการใช้สิทธิเสรีภาพ ความเสมอภาคและภราดรภาพ เพื่อยับยั้ง สกัดและขจัดการทำลายมนุษยชาติ ทั้งในทางเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง เช่น
1.ในทางเศรษฐกิจยับยั้ง สกัดและขจัดการเอาเปรียบผู้บริโภค
2.ทางสังคม ยับยั้ง สกัดและขจัดการค้ายาเสพติดทุกชนิด
3. ทางการเมือง ยับยั้ง สกัด และขจัดการก่ออาชญากรรมทางการเมือง
แต่ในประเทศหรือสังคมที่กำลังพัฒนาหรือด้อยพัฒนา จะมีคนส่วนหนึ่งอิงแอบใช้เจตนารมณ์ ของระบอบประชาธิปไตยในชาติ คือสิทธิเสรีภาพ ความเสมอภาคและภราดรภาพ ไปในทางทำลายมนุษยชาติ ทั้งในทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง เช่น
1. การเอาเปรียบผู้บริโภค
2. การค้ายาเสพติดทุกชนิด
3. การก่ออาชญากรรมทางการเมือง เช่นเหตุการณ์ฆ่านิสิตนักศึกษา และประชาชน ในวันที่ 14 ตุลาคม 2516, 6 ตุลาคม 2519 ,เหตุการณ์พฤษภาทมิฬ 2535 และเหตุการณ์การสลสยการชุมนุมที่สี่แยกราชประสงค์ เมื่อวันที่ 13-19 พฤษภาคม 2553
ดังนั้น การทำลายชาติอย่างพร้อมสรรพ จึงเป็นการทำลายมนุษยชาติทั้งในทางเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง โดยใช้สิทธิเสรีภาพ ความเสมอภาคและภราดรภาพ ที่ไร้เจตนารมณ์หรือไร้จิตสำนึกที่ดีต่อมนุษยชาติ

วันอังคารที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2556

ฟ้องด้วยภาพ สร้างอนาคตไทย เพื่อ...ไทยเข้มแข็ง (inform with a picture , make the future Thai , for ... Thai is vigorous )

















ภาพแห่งความทรงจำ ที่ทุกฝ่ายจำเป็นต้องยืนหยัดพัฒนาการเมืองระบอบประชาธิปไตย พัฒนาจิตสำนึก พัฒนาสิทธิเสรีภาพ ความเสมอภาคและภราดรภาพ ทั้งทางเศรษฐกิจ สังคมและการเมืองระบอบประชาธิปไตย เพื่อนำสู่การพัฒนากฎหมายให้มุ่งไปในทางคุณธรรมและสิทธิมนุษยชนแก่ทุกคนในชาติหรือมนุษยชาติ เป็นสำคัญ
เนื่องด้วยเดือนตุลาคม เป็นเดือนแห่งความอัปยศ ที่มีการเขนฆ่านิสิตนักศึกษาประ
ชาชน จึงยกภาพ เพื่อฟ้องผู้ทรงธรรมด้วยภาพ ว่า่สิ่งใดคือการยืนหยัดเพื่อคุณธรรรมและสิทธิมนุษยชน ทั้งทางเศรษฐกิจ สังคมและการเมืองระบอบประชาธิปไตย
การยับยั้ง สกัดและจำกัดสิทธิ ในการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ ถือเป็นการจำกัดสิทธิเสรีภาพ ความเสมอภาคและภราดรภาพ ทั้งทางเศรษฐกิจ สังคมและการเมืองระบอบประชา่ธิป
ไตยอย่างพร้อมสรรพ และจากเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 และ 6 ตุลาคม 2519 เป็นเหตุการณ์ที่นิสิตนักศึกษาและประชาชนลุกขึ้นมายืนหยัดในการเรียกร้องรัฐธรรมนูญระบอบประชาธิปไตย ซึ่งเป็นการเรียกร้องสิทธิเสรีภาพ ความเสมอภาคและภราดรภาพหรือระบอบประชาธิปไตย อย่างพร้อมสรรพ แต่การเรียกร้องของนิสิต นักศีกษาและประชาชน ในครั้งนั้น กลับได้รับการยับยั้ง สกัดและจำกัดสิทธิฯ โดยวิธีการอาชญากรรมทางการเมือง ทั้งทางตรงและทางอ้อมอย่างผิดความเป็นมนุษย์
ดังนั้น จึงฟ้องด้วยภาพ สร้างอนาคตไทย  เพื่อ  ...ไทยเข้มแข็ง

สร้างอนาคตไทย เพื่อ..ไทยเข้มแข็ง 2020 ( make the future Thai for Thai vigorous 2020 )


การยื่นทูลเกล้าฯร่างแก้ไขเพิ่มเติมรัฐรรมนูญ ภายในกรอบเวลาของรัฐธรรมนูญ เป็นสิ่งที่ชอบธรรม และจะได้รับการคุ้มครองและปกป้อง ให้การดำเนินการเป็นไปโดยสวัสดิภาพตามระบอบประชาธิปไตย คือหลักการและเจตนารมณ์ของร่างแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ ซึ่งทั้งหมดทั้ง ในร่างฯและนอกร่าง ฯได้ปรากฎชัดเจนแล้วว่า ไม่ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรนูญ ซึ่งหมายถึงไม่ขัดหรือแย้งต่อการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข หรือไม่ขัดหรือแย้งต่อรูปแบบของรัฐ
ดังนั้น การเดินหน้าเพื่อให้ร่างแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ มีผลบังคับใช้ ตามระบอบประชาธิปไตย ถือว่าเป็นการปฏิรูปการเมือง อย่างพร้อมสรรพ ทั้งนี้ เพื่อสร้างอนาคตไทย เพื่อ...ไทยเข้มแข้ม 2020( make the future Thai for Thai vigorous 2020 )

วันพฤหัสบดีที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2556

ยับยั้ง เพื่อสกัดและจำกัด...อย่างพร้อมสรรพ (halt for separate and limit ... , completely )


โดย...สายชน   อหิงสา
 
     ประเด็นการแก้ไขรัฐธรรมนูญ 2550 การออกพ.ร.บ.นิรโทษกรรมทางการเมือง การออกพ.ร.บ.กู้เงิน2ล้านล้านบาท การออกพ.ร.บ.ความปรองดองแห่งชาติและการปฏิรูปการเมือง ถือว่าเป็นการยืนหยัดพัฒนาการเมืองระบอบประชาธิปไตย อย่างพร้อมสรรพ แต่ถ้าระบอบประชาธิปไตยทั้ง 3 วาระ หรือวาระใดวาระหนึ่งถูกยับยั้งหรือถูกสกัดหรือถูกจำกัดสิทธิเสรีภาพ ไม่ว่าจะเป็นใน วาระที่ 1 การเสนอนโยบายของพรรคการเมืองต่อมนุษยชาติ วาระที่ 2 การดำเนินการตามนโยบายของพรรครัฐบาล โดยเสนอเป็นร่างกฎหมายต่อรัฐสภา 3 วาระ และวาระที่ 3 การรายงานผลงานต่อรัฐสภาและสาธารณชน ถือว่าเป็นการยับยั้ง เพื่อสกัดและจำกัดสิทธิเสรีภาพ ความเสมอภาคและภราดรภาพทั้งทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ภายใต้รัฐธรรมนูญ แบบมีรัฐสภา อย่างพร้อมสรรพ
 editing constitution issue , 2550 Buddhist enactment amnesty eras are political , the enactment borrows money million million 2 a baht , unity National enactment and politics reform , be regarded as making a stand development democracy city , completely , but , if , 3 both of democracies are occasion , or , which occasion the one occasion was halted or , separated or , imprison bite the liberty and rights , neither be in , 1 presenting policy occasion of the political party builds [ wasp ] the mankind , 2 administration occasions follow the policy s in the government party , by present bill build [ wasp ] 3 occasion parliaments , and 3 report work occasions build [ wasp ] the parliament and the public , be regarded as the suppression , for separate and limit the liberty and rights , the equality and both of economical brotherhood , social , and democracy politics has great shape king is a leader , beneath the constitution , like [ model ] to have the parliament , completely ,

วันอังคารที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2556

เสียงข้างมากในสภา คือ เสียงประชาธิปไตย (the majority in a council be democracy sound )

  โดย...สายชน
เจตนารมณ์เหตุการณ์ทางการเมืองเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2475 คือ การปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ภายใต้รัีฐธรรมนูญ แบบมีรัฐสภา
แต่ตลอดระยะเวลา 81 ปี นับถึงปัจจุบัน มีการรัฐประหารไปแล้ว 12 ครั้ง จึงได้มีกลุ่มคนทางการเมืองระบอ
บประชาธิปไตยทั้งรุ่นเก่าและรุ่นใหม่ พยายามรักษาเจตนารมณ์ และพัฒนาการเมือง มาอย่างต่อเนื่อง จึงนำไปสู่การเกิดรัฐธรรมนูญ พุทธศักราช 2540 ขึ้นมาตามระบอบประชาธิปไตย ทุกกระบวนการ แต่ระบอบประชาธิปไตย ก็เดินทางไปได้แค่หางอึ่งเป็นช่วงๆ และในวันที่ 19 กันยายน 2549 ก็เกิดการรัฐประหารระบอบประชาธิปไตย ซึ่งนับเป็นการรัฐประหาร ครั้งที่ 12 หรือการล้มล้างรัฐบาลในขณะนั้น อย่างพร้อมสรรพ และส่งผลให้เกิดรัฐธรรมนูญ พุทธศักราช 2550 ซึ่งถ้าพูดแบบตรงๆ เป็นรัฐธรรมนูญที่เกิดจากการรัฐประหาร
ปัจจุบันรัฐบาล โดยสมาชิกแห่งรัฐสภา ได้แก้ไขรัฐธรรมนูญ พุทธศักราช 2550 ออกพระราชบัญญัตินิรโทษกรรม, ออกพระราชบัญญัติความปรองดองแห่งชาติ ออกพระราชบัญญัติเงินกู้2ล้านล้านบาทและ
การปฏิรูปการเมือง ในหลักการและกระบวนการดำเนินการถือว่าเป็นไปเจตนารมณ์ของการเมืองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ภายใต้รัฐธรรมนูญ แบบมีรัฐสภา
ดังนั้น จึงกล่าวได้ว่า ประเทศไทย ได้เริ่มออกเืดินทางและอยู่บนเส้นทางต
รงของการเมืิองระบอบประชาธิปไตย มาตั้งแต่วันที่ 24 มิถุนายน  พุทธศักราช 2475 และทางตรงช่วงต่อจากนี้ไป ถือเป็นช่วงทางตรงมุ่งถึงเส้นชัย ทั้งในทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองตามเจตนารมณ์ของการเมืองการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ภายใต้รัฐธรรมนูญ แบบมีรัฐสภา และเมื่อสมาชิกรัฐสภาและมนุษยชาติของประเทศ ได้ยึดมั่นตามเจตนารมณ์การเมืองของประเทศชาติ คำว่า"ประเทศถึงทางโค้ง ประเทศถึงทางแยก ประเทศถึงทางตัน และประเทศชาติถึงทางจอดดับ...ก็จะไม่มีในวิสัยทัศน์ของความเป็นมนุษยชาติ "
events political intention when , date 24 June 2475 be , the administration in democracy has great shape king is a leader , beneath the constitutional law , like [ model ] to have the parliament , but , through 81 period of times year , count arrive at now , there is the coup d'etat goes to 12 already time , then have political democracy both of past generation crowd and the new model , try heal the intention , and city development , come to continuously , then bring about to constitution occurrence , 2540 Buddhist eras upward to area the democracy , every the procedure , but , democracy , as a result , travel to get only bullfrog tail periodically , and in date 19 September 2549 , be born coup democracy d'etat , which , regard the coup d'etat , time that 12 or , government demolition at that time , completely , and cause the constitution , 2550 Buddhist eras are which , if , speak like [ model ] , uprightly , be the constitution where is born from the coup d'etat , now the government , by parliament member , get correct the constitution , 2550 Buddhist eras enact an amnesty , , enact National unity , enact million million 2 baht loans and politics reform , in the principle and the procedure manage to are regarded as happen the intention of democracy politics have great shape king are a leader , beneath the constitution , like [ model ] to have the parliament , thus , then can deliver a speech that ,  , Thailand , get begin go out way earth and is on straight route of something the democracy , come to since , date 24 June , 2475 Buddhist eras and direct period way from now ,  , regard direct way period is bound for arrive at the goal , both of in the sense of the economy , social , and politics follows the intention of administration democracy politics have great shape king are a leader , beneath the constitution , like [ model ] to have the parliament , and when , a member of parliament and the mankind of the country , get persist follow politics intention in the nation , the word is that , " , the country arrives at the curve , the country arrives at the crossroad , the country arrives at the dead end , and the nation arrives at the way stops to switch off ... , as a result , will have no in the vision of the be mankind  " 

วันอาทิตย์ที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2556

อโหสิกรรมประชาธิปไตย กับ จองจำประชาธิปไตย ( forgive the democracy with imprison the democracy )


ประเด็นพรรคเพื่อไทย ยันมีกลุ่มจ้องล้มรัฐบาลตามที่ พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร วิเคราะห์จริง...นั้น เพราะเหตุผลการดำเนินการตามนโยบายของพรรคการเมืองรัฐบาลและพรรคร่วมรัฐบาล ดังนี้
1. การออกพ.ร.บความปรองดองแห่งชาติ
2. การแก้ไขรัฐธรรมนูญ 2550
3. การออกพ.ร.บ.นิรโทษกรรมฯ
4. การออกพ.ร.บ.กู้เงิน 2 ล้านล้านบาท
5. การปฏิรูปการเมือง
ซึ่งทั้ง 5 ข้อ พรรคฝ่า่ยค้าน ก้ได้แสดงออกอย่างชัดเจนทั้งทางบวกและลบอย่างพร้อมสรรพ...ว่าไม่เห็นชอบ ทั้งในเวทีรัฐสภาและนอกเวทีรัฐสภา ด้วยเหตุผล  เพราะ...
1. การออกพ.ร.บ.ความปรองดองแห่งชาติ อาจนำพาพ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร กลับประเทศชาติ อย่างพร้อมสรรพ
2. การแก้ไขรัฐธรรมนูญ 2550
    2.1 อาจเชื่อมโยงให้การดำเนินการในข้อที่ 1 เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล อย่างพร้อมสรรพ
    2. 2 อาจทำให้พรรคเพื่อไทย สามารถควบคุมเสียงทั้งในสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา ได้อย่างพร้อมสรรพ
    2. 3 อาจนำไปสู่การเป็นระบอบประชาธิปไตย แบบเบ็ดเสร็จ ซึ่ง พรรคฝ่ายค้าน เรียกใช้คำแบบปลุกระดมมวลชนว่า " สภาเผด็จการ " จึงได้เฟ้นหาคำและช่องกฎหมายให้เชื่อมโยงไปสู่การยื่นฟ้องศาลรัฐธรรมนูญ ว่าการแก้ไขรัฐธรรมนูญ 2550 ขัดแย้งกับกฎหมายรัฐธรรมนูญ 2550  มาตรา 68
3. การออกพ.ร.บ.นิรโทษกรรมฯ อาจนำพาให้พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร ได้รับความเป็นธรรม อย่างพร้อมสรรพ
4. การออกพ.ร.บ.เงินกู้ 2 ล้านล้านบาท อาจเป็นการกู้มาสร้างประชานิยม , กู้มาหาผลประโยชน์ทับซ้อน และนำไปสู่การทุจริตคอร์รัปชั่น อย่างพร้อมสรรพ
5. การปฏิรูปการเมือง อาจเป็นการปฏิรูปตามนโยบายพ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร เป็นสำคัญ
จากภารกิจตามขอบข่ายนโยบายของรัฐบาลทั้ง 5 ข้อ ถือเป็นการใช้สิทธิเสรีภาพ ความเสมอภาคและภราดรภาพ ในการดำเนินการแก้ไข และพัฒนาชาติทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคมและการเมืองตามระบอบประชาธิปไตย อย่างพร้อมสรรพ หรือ เรียกว่า"ประชาธิปไตยอโหสิกรรม" ก็สร้างสรรค์ไม่ผิด ซึ่งก็ไม่ได้สร้างความเสียหายต่อระบบหรือองค์กรใด แต่กลับสร้างคุณธรรมและสิทธิมนุษยชนให้แก่ชาติทั้งปวง
แต่ที่ฝ่ายค้าน คัดค้านและต่อต้านนโยบายรัฐบาล ทั้งทางตรงและทางอ้อม โดยยึดโยงถึง พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร เท่านั้น จึงถือเป็นการคัดค้านและต่อค้านการแก้ไขและพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจ สังคมและการเมืองระบอบประชาธิปไตยโดยรวม  ซึ่งอาจนำไปสู่การทำลายระบอบประชาธิปไตย อย่างพร้อมสรรพ หรือจะเรียกว่า การคัดค้านจองจำระบอบประชาธิปไตย ก็คงไม่ผิดนัก

วันเสาร์ที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2556

ยืนหยัดที่สอดคล้อง แต่สกัดที่ขัดแย้ง มาตรา 8







 โดย..ธรรมชน  อหิงสา
เจตนารมณ์มาตรา 68แห่งรัฐธรรมนูญ 2550 คือ ไม่ให้มีการใช้สิทธิเสรีภาพ ที่ขัดแย้งกับรัฐธรรมนูญ เพื่อเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ภายใต้รัฐธรรมนูญ แบบมีรัฐสภา ไปเป็นการปกครองระบอบอื่น
     การแก้ไขรัฐธรรมนูญ 2550 ถึงแม้แก้บางมาตราหรือทั้งฉบับ แต่ถ้าการแก้ไขยืนหยัดในการเมืองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ภายใต้รัฐธรรมนูญ แบบมีรัฐสภา ไม่ได้มุ่งหวังที่จะเปลี่ยนแปลงการเมืองการปกครองที่มีมาตั้งแต่วันที่ 24 มิถุนายน 2475 เป็นต้นมาถึงปัจจุบัน ก็ถือว่าเป็นสิทธิอันชอบธรรมของฝ่ายนิติบัญญัติ ที่จะสร้างความเป็นธรรมให้แก่ประเทศชาติ  ด้วยการเมืองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ภายใต้รัฐธรรมนูญ  แบบมีรัฐสภา และในประเด็นที่ฝ่ายค้านจะยื่นศาลรัฐธรรมนูญตีความว่าการแก้ไขรัฐธรรมนูญที่มาของสมาชิกวุฒิสภา ขัดรัฐธรรมนูญ 2550  มาตรา 68 นั้น เปรียบเหมือนพายเรือบนบก  ซึ่งการพายเรือบนบกจะเป็นไปได้ยาก แต่ถ้าใช้ระบอบเผด็จการทั้งทางตรงและทางอ้อม การพายเรือบนบกก็เคลื่อนไปได้ เช่นใช้การฉุดกระชากลากจูง เป็นต้น ซึ่งวิธีนี้เอง คือ วิธีการที่ขัดแย้งกับเจตนารมณ์มาตรา68 แห่งรัฐธรรมนูญ อย่างชัดเจน
     ที่จริงฝ่ายค้านยื่นตีความ การแก้ไขรัฐธรรมนูญ ที่มาของสมาชิกวุฒิสภา ขัดรัฐธรรมนูญ เพราะ ฝ่ายค้านคงยอมรับทั้งทางตรงและทางอ้อมว่าต้องพ่ายแพ้การเลือกตั้ง และต้องแพ้ในสภาไปด้วยอย่างพร้อมสรรพ ซึ่งฝ่ายค้านได้เรียบเรียงใช้เป็นภาษาเรียกแบบปลุกระดมมวลชนว่า " เผด็จการทางรัฐสภา " ซึ่งรูปธรรมของเผด็จการทางรัฐสภา ไม่ได้อยู่ที่ว่าฝ่ายใดที่ใช้ระบอบประชาธิปไตยสามารถคุมเสียงในสภาได้มากว่า เพราะถ้าเปรียบเทียบได้ ก็เปรียบดั่งศาสดาของแต่ละเชื่อชาติ ศาสนา ที่ใช้สิทธิเสรีภาพ ความเสมอภาคและภราดรภาพ ในการใช้หลักการทางคุณธรรมเพื่อชี้นำให้มนุษย์ในสังคม ในประเทศและในโลกได้เห็น ได้รับรู้ และเลือกที่จะใช้หลักคุณธรรมของศาสนา นั้นๆโดยใช้สิทธิเสรีภาพ ความเสมอภาคและภราดรภาพ และเมื่อมีจำนวนมนุษย์มากที่สุดในสังคมใด ในประเทศใดและโลก ยอมรับในสัญชาติใด เชื้อชาติ ศาสนาใดหรือความคิดเห็นทางการเมืองแบบใดแล้ว จะเรียกว่าเป็นเผด็จการทางสังคม เผด็จการในประเทศหรือเผด็จการทางโลก...อย่างนั้นหรือ  ที่สำคัญ...คำว่า”ระบอบเผด็จการ” ..ต่างกันอย่างสิ้นเชิง กับ คำว่า "การปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ภายใต้รัฐธรรมนูญ แบบมีรัฐสภา “


     ดังนั้น การที่รัฐบาล โดยฝ่ายนิติบัญญัติ ดำเนินการแก้ไขรัฐธรรมนูญ 2550 ถือเป็นการยืนหยัดตามเจตนารมณ์ระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ภายใต้รัฐธรรมนูญ แบบมีรัฐสภา แต่ที่ฝ่ายค้านยืนหยัดสกัดกั้นทั้งทางตรงและทางอ้อม เป็นการยืนหยัดที่แสดงออกถึงการยอมรับในความพ่ายแพ้ทั้งในสภาและนอกสภา  การยืนหยัดสกัดกั้นการแก้ไขรัฐธรรมนูญหรือแม้กระทั่งการยืนหยัดสกัดกั้นการออกพ.ร.บ.นิรโทษกรรม การออกพ.ร.บ.ความปรองดองแห่งชาติและการออกพ.ร.บ.กู้เงินสองล้านล้านบาท จึงเป็นการยืนหยัดที่ไม่มีเหตุผลใดๆนอกจากใช้คำว่า “ขัดรัฐธรรมนูญ มาตรา68” ซึ่งถือเป็นเหตุผลที่ใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลมาอย่างต่อเนื่อง แต่ ปัจจุบัน เหตุผลดังกล่าวเป็นเหตุผลล้าหลัง เป็นเหตุผลที่ย้อนยุค และไปขัดแย้งกับมาตรา68 แห่งรัฐธรรมนูญ อย่างพร้อมสรรพ หรือขัดแย้งกับการเมืองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ภายใต้รัฐธรรมนูญ แบบมีรัฐสภาทั้งทางตรงและทางอ้อม อย่างชัดเจน



วันอาทิตย์ที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2556

คุณธรรม ไม่ใช่สรรพสิ่ง( virtue be not the everything )

คุณธรรม ไม่ใช่สรรพสิ่ง แต่คุณธรรมเป็นสิ่งหนึ่งที่มีอยู่เป็นไปเพื่อประเทศชาติ และถึงแม้สรรพสิ่งจะมีวันขึ้นลง ดั่งแม่น้ำและมหาสมุทร แต่คุณธรรม ไม่ใช่สรรพสิ่งทั้งปวง