วันเสาร์ที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554

ทางออกการเมืองไทยคือประชาธิปไตยแบบสากลนิยม


จากข่าว อากง   มีพยานหลักฐานอะไรยืนยันว่าผู้ถูกกล่าวหาเป็นคนส่งข้อความ ถึงแม้ว่าข้อความจะถูกส่งจากโทรศัพท์มือถือเครื่องของผู้ถูกกล่าวหา   ในประเทศไทยจะเกิดความขัดแย้งมากขึ้น  ถ้ายังมีการบังคับใช้กฏหมายเกี่ยวกับการเมืองการปกครองอย่างมีอคติ  ไปในทำนองเชือดไก่ให้ลิงดู   คลื่นใต้น้ำจะเพิ่มมากขึ้น    ไม่ได้แก้ต่างให้อากงและไม่ได้กล่าวถึงใครไปในทำนองเสียหาย หรือกล่าวไปในทำนองผิดครรลองครองธรรมของประชาธิปไตยที่แท้จริง  แต่ใช้หลักการตั้งข้อสังเกตตามแนวทางของพุทธศาสนาหรือศาสนาอื่นๆ ที่ว่าด้วยการสร้างสรรค์คุณธรรม จริยธรรม  เพื่อให้คนอย่างอากงและอีกหลายคนๆ ที่เป็นขวัญกำลังใจของลูกหลานที่จะเติบใหญ่ในอนาคตได้มีความรู้สึกที่ดีต่อประเทศของเขา และสร้างความรู้สึกดีๆให้มากที่สุดในยามนี้  เหตุผลด้านคุณธรรม จริยธรรม  เป็นการแก้ปัญหาทางการเมืองขั้นสูงสุดของมนุษย์ที่น่าจะนำมาใช้ในยามนี้ให้มาก   แต่ไม่ใช้ควบคู่กับการทุจริตคอร์รัปชั่น  
คนที่ทำมาหาเลี้ยงชีพโดยไม่ทุจริตฯ ไม่ฆ่าคน ไม่ค้ายาเสพติด  ไม่ประกอบอาชีพโดยมิชอบอื่นๆ แลไม่ใช้อำนาจบารมี ขู่เข็ญ ครอบงำปราศจากเหตุผลที่พิสูนจ์ได้   และที่สำคัญไม่ทำลายความเป็นประชาธิปไตย  เพราะสิทธิเสรีภาพของประชาชนต้องเป็นสิ่งสำคัญยิ่งเหนือสิ่งใด   ก็ถือว่าเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์แล้ว
ในทางกลับกันคนทุจริตฯ  คนฆ่าคน ค้ายาเสพติด  ประกอบอาชีพโดยมิชอบอื่นๆ และใช้อำนาจบารมี ขู่เข็ญ ครอบงำปราศจากเหตุผล  และที่สำคัญทำลายความเป็นประชาธิปไตย โดยเฉพาะสิทธิเสรีภาพของมนุษย์ในระบอบประชาธิปไตย   แล้วบอกว่ารักชาติ  อย่างนี้เป็นมนุษย์ที่ไม่สมบูรณ์
  ฉะนั้นระบอบประชาธิปไตย โดยประชาชนและเพื่อประชาชนอย่างเป็นรูปธรรม จึงเป็นทางออกที่แท้จริง 

วันพุธที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554

น้ำลดตอ(เก่า)ผุด

ข่าวการปล้นบ้านอดีตปลัดกระทรวงคมนาคม  น้ำกำลังลด ยกความดีให้น้ำบ้าง    น้ำเริ่มลดตอเริ่มผุด  จากผลการปฏิบัติงานของบุคคลดังกล่าว ที่ดำเนินการตามนโยบายของรัฐบาลที่แล้ว  เช่น โครงการถนนไร้ฝุ่น ในแถบภาคอีสานถนนสายหลักต่างๆอยู่ในสภาพดี ไม่มีฝุ่นแล้ว  กลับมีการทุบ แล้วเทพื้นใหม่เป็นจุด ๆ  เป็นเทคนิคหางบประมาณเข้ากระเป๋า
ก็เป็นได้ ดังจะเห็นได้จากทั้งในอดีตและปัจจุบันข้าราชการชั้นผู้ใหญ่(ตามยศฐาบรรดาศักดิ์ ถือว่าเป็นสิ่งทำลายความโปร่งใส ในระบอบประชาธิปไตย )ในเมืองไทยรำรวยผิดปกติ และกำลังเป็นข่าวอยู่ในขณะนี้  ถ้าเป็นการทุจริต หลังจากการตรวจสอบแล้ว  นี้คงเป็นส่วนแบ่งส่วนหนึ่งเท่านั้น  และคงมีอีกเงินอีกมากหมายมหาศาลจากบุคคลอื่นๆอีกด้วยที่เกี่ยวข้อง ข้าราชการยศปลัดกระทรวงคมนาคม มีเท่านี้ นักการเมืองระดับรัฐมนตรี จะมีเท่าไร   ถ้าจะพูดไปช่วงปี 2551-2553  น่าจะมีการกินบ้านกินเมือง อย่างมหาศาล ภายใต้การแอบอ้างเอาร่มเงาของธงชาติและตราสถาบัน เป็นสิ่งกำบัง  คงมีอีกที่เก็บซ้อนไว้รอการฟอกเงินต่อไป   ถ้าไม่อย่างนั้น มนุษย์ไม่มีความจำเป็นที่จะต้องเก็บเงินมากหมายขนาดนี้ไว้ที่บ้าน
  ตั้งข้อสังเกตว่า  บางพรรค บางกลุ่ม บางคน ใช้ธงชาติและสัญลักษณ์สร้างความชอบธรรมให้กับตนเอง แล้วสร้างความเกียจชังในหมู่คนตรงข้าม  จะรักใครหรือไม่ในระบอบประชาธิปไตยไม่สำคัญ  ที่สำคัญ ถ้าทุกคนยึดประโยชน์สุขของประชาชนเป็นที่ตั้งจริงๆ ใครทำเพื่อประชาชนให้อยู่ดี   กินดี  ก็คงต้องยอมรับกัน เพราะเป็นกติกาของประเทศโลกสากลนิยม
  ตัวอย่างเห็นแล้วเห็นอีก  อย่างอดีตข้าราชการระดับสูงที่เป็นข่าว หรือนักการเมืองบางคน บางกลุ่ม  ธงชาติของประเทศและสัญลักษณ์สถาบันที่ติดอยู่หน้าบ้านนั้น ไม่สามารถทำให้ความโลภของคนพวกนี้เบาบางลงได้ กลับใช้แสวงหาผลประโยชน์ส่วนตัวโดยมิชอบมากกว่า และมากขึ้น
    ฉะนั้น  จึงควรเลิกคิดประเด็นคนที่รักไม่รักสถาบัน เพราะเป็นความคิดแบบหลงยุค ในฐานะประชาชน คนประชาธิปไตย   สนับสนุนการเรียกร้องประชาธิปไตยที่แท้จริง สนับสนุนการปราบปรามการทุจริต สนับสนุนการปราบปรามการค้ายาเสพติดและการก่ออาชญากรรมที่ทำลายระบอบประชาธิปไตย  ส่งเสริมการสร้างความกินดี อยู่ดีและยึดประชาชนคนประชาธิปไตยเป็นสำคัญ

วันอังคารที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554

ภาพแห่งการยอมรับในเวทีโลก

วันเสาร์, พฤศจิกายน 19, 2011


Before & After ผู้นำไทยในเวทีโลก ระหว่างอัปยศกับเกียรติภูมิของชาติอยู่ที่ภาษาหรือที่มา มีคำตอบ

ระหว่างเกียรติภูมิกับความน่าอับอาย มาจากภาษาอังกฤษที่คล่องปร๋อราวกับภาษาแม่อย่างนั้นหรือ?-คำตอบคือ"ไม่!"

BEFORE

ใครวะแว๊บๆ-อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ซึ่งเกิดในอังกฤษ และมีภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ เสียแต่ว่าเขาเป็นนายกฯหุ่นเชิดของระบอบปกครองอำมาตย์ทรราชย์ ภาพนี้เป็นการไปประชุม UN ที่วอชิงตัน เมื่อ 24 กันยายนปีกลาย ทำท่าพยายามเรียกร้องความสนใจจากโอบาม่า ประธานาธิบดีสหรัฐฯ แต่เหมือนจะถูกเมิน ราวกับไม่มีตัวตนของเขายืนอยู่ตรงนั้น
มือที่มองไม่เห็น(ตัว)ของใคร?-เป็นธรรมเนียมปฏิบัติของการประชุมสุดยอดผู้นำนานาชาติ ต้องมีภาพแบบนี้เกิดขึ้นตอนจบประชุม คือการจับมือประสานกันอย่างแน่นเหนียว แต่การประชุมอาเซียน-จีน เมื่อปีกลายที่ฮานอย มีบางมือของบางคนที่ผู้นำนานาชาติทำท่าไม่อยากสัมผัสด้วย
เฉลย..ยังไม่เป็นที่แน่ชัดว่า สำนักข่าวต่างประเทศแค่บังเอิญ หรือ ตั้งใจจะให้ภาพนายกฯหุ่นเชิด ของระบอบทรราชย์อำมาตย์ในเวทีโลก ออกมาเสมือนถูกรังเกียจจากผู้นำนานาชาติ เลยไม่มีใครอยากสัมผัสมือเปื้อนเลือด หลังการสังหารหมู่ผู้เรียกร้องประชาธิปไตยในไทยเ้มื่อเดือนเมษา-พฤษภา 2553

สำนักข่าวต่างประเทศยิงช็อตเด็ด แสดงให้เห็นภาพอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ทำท่าหันไปขอจับมือกับนายกฯเหวิน เจีย เป่าของจีน ระหว่างประชุมสุดยอดอาเซียน-จีน ครั้งที่ 13 ที่ฮานอย เวียดนาม เมื่อวันศุกร์ 29 ต.ค.ปีที่แล้ว แต่ดูเหมือนจะไม่ได้รับความใส่ใจ ส่วนนายกฯสิงคโปร์ก็ทำท่าเหมือนไม่อยากยื่นมือมาสัมผัสด้วยเช่นกัน
ส่วนเกินบนเวทีโลก-ผู้นำชาติต่างๆคุยกันอย่างออกรสในการร่วมงานเลี้ยงอาหารค่ำ หลังสิ้นสุดประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่ 17 และการประชุมกับชาติพันธมิตรอาเซียน ที่เวียดนาม เมื่อปีกลาย

ในภาพ นายกรัฐมนตรีหญิงจูเลีย กิลลาร์ด ของออสเตรเลีย จับมือทักทายนายกรัฐมนตรีนาโอโตะ คุงของญี่ปุ่น โดยมีเลขาธิการอาเซียน สุรินทร์ พิศสุวรรณ นายกรัฐมนตรีจอห์น คีย์ จากนิวซีแลนด์ และประธานาธิบดีเบนิกโย อาวควิโนที่3ของฟิลิปปินส์ ล้อมวงกันอย่างสนิทสนม ทั้งหมดเป็นผู้นำจากการเลือกตั้งของประชาชนในชาตินั้นๆ และยังไม่มีใครมือเปื้อนเลือดสังหารหมู่ประชาชนในประเทศของตน

โดยมีใครก็ไม่รู้เป็นส่วนเกินของภาพอยู่ด้านซ้ายมือ
เขมรก็รังเกียจ-ในการประชุมสุดยอดผู้นำASEANหนก่อนที่ลาว นายกรัฐมนตรีลาวต้องคะยั้นคะยอเชิญนายกรัฐมนตรีกัมพูชามาถ่ายรูปหมู่ด้วย แต่ฮุนเซ็นเดินหลบไป เพราะไม่อยากถ่ายรูปกับนายกฯจากไทยที่ดำเนินนโยบายเป็นศัตรูกับกัมพูชาเพื่อนบ้าน โดยนายอภิสิทธิ์ทำท่ายิ้มเยาะใส่
ดิวิชั่นเดียวกัน-อย่างไรก็ตามเขาได้รับการชดเชยด้วยการกระชับมืออย่างอบอุ่นแนบแน่นจากนายพลอาวุโสตานฉ่วย เผด็จการมือเปื้อนเลือดรุ่นพี่ของพม่า ขณะที่เจ้าตัวทำสีหน้าพะอืดพะอม เหมือนยังไม่ยอมทำใจรับสภาพ
                                                            ภาพกงจักรคู่
                              

.........
AFTER
ภาพดอกบ้วคู่
ประธานาธิบดีโอบาม่าหารือกับนายกฯยิ่งลักษณ์อย่างออกรสในงานประชุมUS-ASEAN (ภาพเพิ่มเติมดูที่facebookนายกฯยิ่งลักษณ์) เอเอฟพีรายงานว่า ประธานาธิบดีโอบามากล่าวแสดงความยินดีกับนายกฯยิ่งลักษณ์ ในชัยชนะของการเลือกตั้งที่เป็น "แรงบันดาลใจ"

สื่อต่างประเทศชี้ว่า ท่าทีการยืนเคียงข้างกันระหว่างยิ่งลักษณ์และโอบามา มีนัยสำคัญสำหรับการเมืองไทย และระบุว่า การเลือกใช้คำของโอบามาที่จัดว่าดีเกินกว่ามาตรฐานทางการทูตทั่วไป ส่งสัญญาณการสนับสนุนรัฐบาลยิ่งลักษณ์อย่างชัดเจน
อวย-ประธานาธิบดีบารัค โอบาม่า ทักทายกับนายกฯยิ่งลักษณ์ ชินวัตร อย่างออกรส โดยมีประธานาธิบดีอินโดนีเซียปรบมือคอยเชียร์ ในการประชุมสุดยอดผู้นำUS-ASEANที่บาหลี อินโดนีเซีย เมื่อ 18 พ.ย.ที่ผ่านมา

การยอมรับนับถือบนเวทีโลกไม่ใช่เพราะพูดภาษาอังกฤษได้คล่องราวกับภาษาแม่ แต่เป็นเพราะที่มานั้นถูกต้องสง่างามหรือไม่ต่างหาก
สุภาพบุรุษนักต่อสู้ทางการเมือง
โลกต้อนรับ-ภาพประสานมือแนบแน่นของการประชุมสุดยอดผู้นำอาเซียนปีนี้ ไม่มีใครรังเกียจที่จะสัมผัสมือนายกฯจากไทยอีกแล้ว นายกฯกัมพูชาดูจะแช่มชื่นเป็นพิเศษ หากเทียบกับการประชุมหนก่อนที่ลาว
ยอมรับที่มาตามครรลองครองธรรมของระบอบประชาธิปไตย
ไทยนำ-ขณะที่อเมริกาต้องพยายามต่อไปในการสร้างประธานาธิบดีหญิงคนแรก แต่ไทยนำหน้ามีนายกฯหญิงคนแรกไปแล้ว คนไทยจำนวนหนึ่งยังหาเรื่องนินทาว่าภาษาอังกฤษของยิ่งลักษณ์ใช้ไม่ได้ น่าอับอาย แต่คนพวกนี้ไม่เคยอับอายกับการที่นายกฯซึ่งพูดภาษาอังกฤษคล่องปร๋อแต่มือเปื้อนเลือดในการสังหารประชาชนมือเปล่าเลย

ฮิลลารี่ตัดสินใจในนาฑีสุดท้าย เธอบอกว่า เอ้า ถ้าท่านนายกฯ มาไม่ได้ เราจะไปหาท่านเอง...หัวใจสำคัญในถ้อยคำแถลงร่วมอยู่ที่การสนับสนุนแก่รัฐบาล“พลเรือนนี้”ของไทย ซึ่งสื่อไทยละเลยที่จะถ่ายทอดออกมาเป็นข่าว แต่นี่ก็ยังไม่ใช่การสนับสนุนฝ่ายประชาธิปไตยในไทยอย่างเต็มที่ มันคือยุทธศาสตร์สองขาของสหรัฐฯ..(รายละเอียดข่าว)
เวทีโลก-นายกรัฐมนตรีกหญิงของไทยต้อนรับเลขาธิการใหญ่สหประชาชาติ คนที่สนับสนุนบอกว่าเธอสง่างามเพราะมาจากการเลือกตั้งของประชาชนไทยส่วนใหญ่ คนที่ต่อต้านบอกว่า เธอเป็นความอับอายของชาวไทย เพราะพูดภาษาอังกฤษได้แย่(หากเทียบกับอดีตนายกฯอภิสิทธิ์)
แดงอินโด-ชุดนี้ท่านประธานาธิบดีอินโดนีเซียกับภริยา ในฐานะเจ้าบ้านประชุมสุดยอดอาเซียน"จัดให้"....

วันศุกร์ที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554

ประชาธิปไตย คืออำนาจสูงสุด

เกิดความเคลื่อนไหวในหมู่นักวิชาการอย่างคึกคักในการต่อต้านการที่รัฐบาลออกพรฎ.อภัยโทษ เช่น คณาจารย์ 7 มหาวิทยาลัย (อ่านรายละเอียด) และนักวิชาการนำโดยแก้วสรร อติโพธิ ที่ร่วมกับกลุ่มสยามสามัคคี ขาประจำไล่รัฐบาลในวันที่ 18 นี้( อ่านรายละเอียด )
นักวิชาการเหล่านี้ส่วนใหญ่เคยได้ตำแหน่งหรือผลประโยชน์จากรัฐประหาร 19 กันยา 2549 แต่ยังคงมาดดีเคลื่อนไหวในมาดนักวิชาการ แต่บางรายเกิดอาการเก็บหางไม่มิดก็เลยโพล่งออกมาแบบโฉ่งฉ่าง ดังภาพข้างต้น

นายธีรวัฒน์ วีระวิทยานันต์ อาจารย์ภาควิชาศิลปกรรมศาสตร์ สาขาดุริยางคศาสตร์สากล คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ใช้ชื่อในเฟซบุ๊คว่า Thirawat Weravittayanan ได้โพสต์ภาพและข้อความข้างต้นลงในหน้าเพจ ขบวนการเสรีไทยเฟซบุ๊ค โดยเขียนว่า

ขอเรียกร้องให้กองทัำพไทย รัฐประหาร เราไม่ต้องการ"รัฐบาลโจร"ช่วยโจร" ก่อนที่ประชาชนที่เห็นด้วยและไม่เห็นด้วยกับ"พรฎ.อภัยโทษ"จะลุกขึ้นมาฆ่าฟันกันเอง โปรดรีบลงมือก่อนที่ทุกอย่างจะสายเกินไป
ทั้งนี้การกระทำการของนายธีรวัฒน์อาจขัดต่อ ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 116 ผู้ใดกระทำให้ปรากฏแก่ประชาชนด้วยวาจา หนังสือ หรือวิธีอื่นใดอันมิใช่เป็นการกระทำภายในความมุ่งหมายแห่งรัฐธรรมนูญ หรือมิใช่เพื่อแสดงความคิดเห็นหรือติชมโดยสุจริต
(1) เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในกฎหมายแผ่นดินหรือรัฐบาล โดยใช้กำลังข่มขืนใจหรือใช้กำลังประทุษร้าย
(2) เพื่อให้เกิดความปั่นป่วน หรือกระด้างกระเดื่องในหมู่ประชาชน ถึงขนาดที่จะก่อความไม่สงบขึ้นในราชอาณาจักร หรือ
(3) เพื่อให้ประชาชนล่วงละเมิดกฎหมายแผ่นดิน ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินเจ็ดปี

จากข้อความด้านบนนี้   แสดงอีกครั้งแล้วว่า คนเหล่านี้จิตใต้สำนึก ไม่มีความเป็นประชาธิปไตย ซึ่งเป็นการปกครองของประเทศชาติ มีจุดประสงค์ต้องการใช้ระบบเผด็จการ ปกครองประเทศ กดขี่ข่มเหงประชาชน  ขัดต่อเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญ และหลักสิทธิเสรีภาพของมนุษยชน
ขอประณามการสร้างกระแสให้มีการรัฐประหาร  รู้แล้วรู้อีก ว่าประเทศไทยถอยหลัง เข้าคลองเพราะคนเหล่านี้  ที่สำคัญประเทศไทยปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตย อำนาจประชาธิปไตยต้องมาก่อน  ประเทศในโลกเสรีคงไม่ปลื้อมกับวิธีการแก้ปัญหาทางการเมืองของประเทศในระบอบประชาธิปไตย   ที่ใช้การปฏิวัติ รัฐประหาร  เพราะเป็นวิชาการที่ฆ่าคนทั้งทางตรงและทางอ้อมได้อย่างเลือดเย็น ด้วยจุดประสงค์เดียวคือความสงบ ที่สังเวยด้วยชีวิตของประชาชน  

ในระบอบประชาธิปไตย หลักสากลของประเทศโลกเสรีนิยมประชาธิปไตย  สิทธฺเสรีภาพของประชาชนที่ควรมีต้องมาก่อนเสมอ  รัฐบาลมาจากประชาชนและทำตามครรลองครองธรรมของระบอบประชาธิปไตย ที่มีจุดประสงค์สร้างสรรค์    การตรวจสอบต้องเป็นไปตามครรลองครองธรรมของระบอบประชาธิปไตยที่แท้จริง   

วันเสาร์ที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554

รัฐบุรุษผู้ปลดปล่อยประชาชนสู่เสรีประชาธิปไตย

อับราฮัม ลินคอล์น
อับราฮัม ลินคอล์น

ดำรงตำแหน่ง
4 มีนาคม ค.ศ. 1861 – 15 เมษายน ค.ศ. 1865
รองประธานาธิบดี  ฮัลนิบัล ฮัมลิน (1861-1865)
แอนดรูว์ จอห์นสัน (1865)
สมัยก่อนหน้าเจมส์ บูแคนัน
สมัยถัดไปแอนดรูว์ จอห์นสัน

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แห่งมลรัฐอิลลินอยส์ เขตที่ 7


ดำรงตำแหน่ง
4 มีนาคม ค.ศ. 1847 – 3 มีนาคม ค.ศ. 1849
สมัยก่อนหน้าจอห์น เฮนรี
สมัยถัดไปโทมัส แอล ฮาร์ริส


เกิด12 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1809
เขตชนบทฮาร์ดิน, มลรัฐเคนทักกี
ถึงแก่อสัญกรรม15 เมษายน ค.ศ. 1865
วอชิงตัน ดี.ซี.
สังกัดพรรควิก (1832-1854) , รีพับลิกัน (1854-1864) , เนชั่นแนลยูเนียน (1864-1865)
คู่สมรสแมร์รี่ ทอดด์ ลินคอล์น
ศาสนาเข้าโบสถ์แต่ไม่ได้สังกัดนิกายใดนิกายหนึ่ง
ลายมือชื่ออับราฮัม ลินคอล์น


ซุน ยัตเซ็น
ซุน ยัตเซ็น

ดำรงตำแหน่ง
1 มกราคม พ.ศ. 2455 – 1 เมษายน พ.ศ. 2455
สมัยก่อนหน้าไม่มี
สมัยถัดไปหยวน ซื่อไข่


เกิด12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2409
จงซาน ประเทศจีน
ถึงแก่อสัญกรรม12 มีนาคม พ.ศ. 2468 (58 ปี)
กรุงปักกิ่ง ประเทศจีน
สังกัดพรรคพรรคก๊กมินตั๋ง
ศาสนาคริสต์
ลายมือชื่อซุน ยัตเซ็น

ดร.ซุน ยัตเซ็น (จีน: 孫逸仙) (12 พฤศจิกายน

ปรีดี พนมยงค์
ปรีดี พนมยงค์

ดำรงตำแหน่ง
24 มีนาคม พ.ศ. 2489 – 23 สิงหาคม พ.ศ. 2489
สมัยก่อนหน้าพันตรี ควง อภัยวงศ์
สมัยถัดไปพลเรือตรี ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์


เกิด11 พฤษภาคม พ.ศ. 2443
ตำบลท่าวาสุกรี อำเภอกรุงเก่า จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ประเทศไทย
ถึงแก่อสัญกรรม2 พฤษภาคม พ.ศ. 2526 (82 ปี)
กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส
สังกัดพรรคพรรคสหชีพ
คู่สมรสท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์
ศาสนาพุทธ
ลายมือชื่อปรีดี พนมยงค์

อับราฮัม ลินคอล์น


อับราฮัม ลินคอล์น
อับราฮัม ลินคอล์น

ดำรงตำแหน่ง
4 มีนาคม ค.ศ. 1861 – 15 เมษายน ค.ศ. 1865
รองประธานาธิบดี  ฮัลนิบัล ฮัมลิน (1861-1865)
แอนดรูว์ จอห์นสัน (1865)
สมัยก่อนหน้าเจมส์ บูแคนัน
สมัยถัดไปแอนดรูว์ จอห์นสัน

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แห่งมลรัฐอิลลินอยส์ เขตที่ 7
ดำรงตำแหน่ง
4 มีนาคม ค.ศ. 1847 – 3 มีนาคม ค.ศ. 1849
สมัยก่อนหน้าจอห์น เฮนรี
สมัยถัดไปโทมัส แอล ฮาร์ริส

เกิด12 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1809
เขตชนบทฮาร์ดิน, มลรัฐเคนทักกี
ถึงแก่อสัญกรรม15 เมษายน ค.ศ. 1865
วอชิงตัน ดี.ซี.
สังกัดพรรควิก (1832-1854) , รีพับลิกัน (1854-1864) , เนชั่นแนลยูเนียน (1864-1865)
คู่สมรสแมร์รี่ ทอดด์ ลินคอล์น
ศาสนาเข้าโบสถ์แต่ไม่ได้สังกัดนิกายใดนิกายหนึ่ง
ลายมือชื่ออับราฮัม ลินคอล์น
อับราฮัม ลินคอล์น
อับราฮัม ลินคอล์น

ดำรงตำแหน่ง
4 มีนาคม ค.ศ. 1861 – 15 เมษายน ค.ศ. 1865
รองประธานาธิบดี  ฮัลนิบัล ฮัมลิน (1861-1865)
แอนดรูว์ จอห์นสัน (1865)
สมัยก่อนหน้าเจมส์ บูแคนัน
สมัยถัดไปแอนดรูว์ จอห์นสัน

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แห่งมลรัฐอิลลินอยส์ เขตที่ 7
ดำรงตำแหน่ง
4 มีนาคม ค.ศ. 1847 – 3 มีนาคม ค.ศ. 1849
สมัยก่อนหน้าจอห์น เฮนรี
สมัยถัดไปโทมัส แอล ฮาร์ริส

เกิด12 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1809
เขตชนบทฮาร์ดิน, มลรัฐเคนทักกี
ถึงแก่อสัญกรรม15 เมษายน ค.ศ. 1865
วอชิงตัน ดี.ซี.
สังกัดพรรควิก (1832-1854) , รีพับลิกัน (1854-1864) , เนชั่นแนลยูเนียน (1864-1865)
คู่สมรสแมร์รี่ ทอดด์ ลินคอล์น
ศาสนาเข้าโบสถ์แต่ไม่ได้สังกัดนิกายใดนิกายหนึ่ง
ลายมือชื่ออับราฮัม ลินคอล์น
อับราฮัม ลินคอล์น
อับราฮัม ลินคอล์น

ดำรงตำแหน่ง
4 มีนาคม ค.ศ. 1861 – 15 เมษายน ค.ศ. 1865
รองประธานาธิบดี  ฮัลนิบัล ฮัมลิน (1861-1865)
แอนดรูว์ จอห์นสัน (1865)
สมัยก่อนหน้าเจมส์ บูแคนัน
สมัยถัดไปแอนดรูว์ จอห์นสัน

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แห่งมลรัฐอิลลินอยส์ เขตที่ 7
ดำรงตำแหน่ง
4 มีนาคม ค.ศ. 1847 – 3 มีนาคม ค.ศ. 1849
สมัยก่อนหน้าจอห์น เฮนรี
สมัยถัดไปโทมัส แอล ฮาร์ริส

เกิด12 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1809
เขตชนบทฮาร์ดิน, มลรัฐเคนทักกี
ถึงแก่อสัญกรรม15 เมษายน ค.ศ. 1865
วอชิงตัน ดี.ซี.
สังกัดพรรควิก (1832-1854) , รีพับลิกัน (1854-1864) , เนชั่นแนลยูเนียน (1864-1865)
คู่สมรสแมร์รี่ ทอดด์ ลินคอล์น
ศาสนาเข้าโบสถ์แต่ไม่ได้สังกัดนิกายใดนิกายหนึ่ง
ลายมือชื่ออับราฮัม ลินคอล์น
อับราฮัม ลินคอล์น
อับราฮัม ลินคอล์น

ดำรงตำแหน่ง
4 มีนาคม ค.ศ. 1861 – 15 เมษายน ค.ศ. 1865
รองประธานาธิบดี  ฮัลนิบัล ฮัมลิน (1861-1865)
แอนดรูว์ จอห์นสัน (1865)
สมัยก่อนหน้าเจมส์ บูแคนัน
สมัยถัดไปแอนดรูว์ จอห์นสัน

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แห่งมลรัฐอิลลินอยส์ เขตที่ 7
ดำรงตำแหน่ง
4 มีนาคม ค.ศ. 1847 – 3 มีนาคม ค.ศ. 1849
สมัยก่อนหน้าจอห์น เฮนรี
สมัยถัดไปโทมัส แอล ฮาร์ริส

เกิด12 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1809
เขตชนบทฮาร์ดิน, มลรัฐเคนทักกี
ถึงแก่อสัญกรรม15 เมษายน ค.ศ. 1865
วอชิงตัน ดี.ซี.
สังกัดพรรควิก (1832-1854) , รีพับลิกัน (1854-1864) , เนชั่นแนลยูเนียน (1864-1865)
คู่สมรสแมร์รี่ ทอดด์ ลินคอล์น
ศาสนาเข้าโบสถ์แต่ไม่ได้สังกัดนิกายใดนิกายหนึ่ง
ลายมือชื่ออับราฮัม ลินคอล์น
อับราฮัม ลินคอล์น
อับราฮัม ลินคอล์น

ดำรงตำแหน่ง
4 มีนาคม ค.ศ. 1861 – 15 เมษายน ค.ศ. 1865
รองประธานาธิบดี  ฮัลนิบัล ฮัมลิน (1861-1865)
แอนดรูว์ จอห์นสัน (1865)
สมัยก่อนหน้าเจมส์ บูแคนัน
สมัยถัดไปแอนดรูว์ จอห์นสัน

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แห่งมลรัฐอิลลินอยส์ เขตที่ 7
ดำรงตำแหน่ง
4 มีนาคม ค.ศ. 1847 – 3 มีนาคม ค.ศ. 1849
สมัยก่อนหน้าจอห์น เฮนรี
สมัยถัดไปโทมัส แอล ฮาร์ริส

เกิด12 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1809
เขตชนบทฮาร์ดิน, มลรัฐเคนทักกี
ถึงแก่อสัญกรรม15 เมษายน ค.ศ. 1865
วอชิงตัน ดี.ซี.
สังกัดพรรควิก (1832-1854) , รีพับลิกัน (1854-1864) , เนชั่นแนลยูเนียน (1864-1865)
คู่สมรสแมร์รี่ ทอดด์ ลินคอล์น
ศาสนาเข้าโบสถ์แต่ไม่ได้สังกัดนิกายใดนิกายหนึ่ง
ลายมือชื่ออับราฮัม ลินคอล์น
อับราฮัม ลินคอล์น
อับราฮัม ลินคอล์น

ดำรงตำแหน่ง
4 มีนาคม ค.ศ. 1861 – 15 เมษายน ค.ศ. 1865
รองประธานาธิบดี  ฮัลนิบัล ฮัมลิน (1861-1865)
แอนดรูว์ จอห์นสัน (1865)
สมัยก่อนหน้าเจมส์ บูแคนัน
สมัยถัดไปแอนดรูว์ จอห์นสัน

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แห่งมลรัฐอิลลินอยส์ เขตที่ 7
ดำรงตำแหน่ง
4 มีนาคม ค.ศ. 1847 – 3 มีนาคม ค.ศ. 1849
สมัยก่อนหน้าจอห์น เฮนรี
สมัยถัดไปโทมัส แอล ฮาร์ริส

เกิด12 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1809
เขตชนบทฮาร์ดิน, มลรัฐเคนทักกี
ถึงแก่อสัญกรรม15 เมษายน ค.ศ. 1865
วอชิงตัน ดี.ซี.
สังกัดพรรควิก (1832-1854) , รีพับลิกัน (1854-1864) , เนชั่นแนลยูเนียน (1864-1865)
คู่สมรสแมร์รี่ ทอดด์ ลินคอล์น
ศาสนาเข้าโบสถ์แต่ไม่ได้สังกัดนิกายใดนิกายหนึ่ง
ลายมือชื่ออับราฮัม ลินคอล์น

รัฐบุรุษระบอบประชาธิปไตย

รัฐบุรุษแห่งการเปลี่ยนแปลงสู่ระบอบประชาธิปไตย

ปรีดี พนมยงค์
ปรีดี พนมยงค์

ดำรงตำแหน่ง
24 มีนาคม พ.ศ. 2489 – 23 สิงหาคม พ.ศ. 2489
สมัยก่อนหน้าพันตรี ควง อภัยวงศ์
สมัยถัดไปพลเรือตรี ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์

เกิด11 พฤษภาคม พ.ศ. 2443
ตำบลท่าวาสุกรี อำเภอกรุงเก่า จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ประเทศไทย
ถึงแก่อสัญกรรม2 พฤษภาคม พ.ศ. 2526 (82 ปี)
กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส
สังกัดพรรคพรรคสหชีพ
คู่สมรสท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์
ศาสนาพุทธ
ลายมือชื่อปรีดี พนมยงค์

รองประธานาธิบดี  
สมัยก่อนหน้า
สมัยถัดไป

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แห่งมลรัฐอิลลินอยส์ เขตที่ 7
สมัยก่อนหน้า
สมัยถัดไป

เกิด
ถึงแก่อสัญกรรม
สังกัดพรรค
วิก (1832-1854) , รีพับลิกัน (1854-1864) , เนชั่นแนลยูเนียน (1864-1865)
คู่สมรส
ศาสนา
เข้าโบสถ์แต่ไม่ได้สังกัดนิกายใดนิกายหนึ่ง
ลายมือชื่อ
อับราฮัม ลินคอล์น (อังกฤษ: Abraham


ซุน ยัตเซ็น

สมัยก่อนหน้า
ไม่มี
สมัยถัดไป

เกิด
ถึงแก่อสัญกรรม
สังกัดพรรค
ศาสนา
ลายมือชื่อ








ปรีดี พนมยงค์

สมัยก่อนหน้า
สมัยถัดไป

เกิด
ถึงแก่อสัญกรรม
สังกัดพรรค
คู่สมรส
ศาสนา
พุทธ
ลายมือชื่อ