วันเสาร์ที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2558

ความขรุขระทางการเมือง

  ประเด็นนี้ ผมมองว่า รัฐธรรมนูญ ที่พร้อมสรรพ เป็นกฎหมายที่มีเจตนารมณ์ให้สิทธิเสรีภาพ ความเสมอภาคและภราดรภาพทั้งทางด้านการเมือง เศรษฐกิจและสังคม ซึ่งไม่ใช่กฎหมายที่เอื้อประโยชน์ให้อำนาจสูงสุดแก่ฝ่ายใด อย่างเบ็ดเสร็จ แต่เป็นกฎหมายแห่งเจตนารมณ์อย่างมีวินัยและคุณธรรม ทั้งทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมของปวงชน โดยปวงชน และเพื่อปวงชน อย่างเสร็จสรรพ
     เมื่ิอมองย้อนหลังจากวันที่ 24 มิถุนายน 2475 ถึง พ.ศ. 2558 ประเทศไทยมีรัฐธรรมนูญู จำนวน 19 ฉบับ และ ฉบับ ที่ 20 กำลังนำเข้าสู่ที่ประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) พิจาารณา ซึ่งต้องยอมรับว่าเป็นร่างรัฐธรรมนูญ ที่กำลังจะเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศ ที่เกิดจากการรัฐประหาร เมื่อ 22 พฤษภาคม 2557 อีกฉบับหนึ่ง เช่นเดียวกับ รัฐธรรมนูญ พุทธศักราช 2550  ซึ่งเกิดจากการรัฐประหาร เมื่อ 19 กันยายน 2549 แต่ความสงบทางการเมืองไทย ภายหลังมีรัฐธรรมนูญทุกฉบับ ก็เป็นไปอย่างขรุขระ 
ซึ่งความขรุขระทางการเมือง ได้แก่ การทุจริตทางการเมือง การรัฐประหารทางการเมือง และการจัดทำกฎหมายรัฐธรรมนูฐที่ไม่เป็นไปตามเจตนารมณ์การเมืองระบอบประขาธิปไตย 
                                       ละเมิดวินัยและคุณธรรมทางการเมือง เศรษฐกิจและสังคม
         

                                     ละเมิดวินัยและคุณธรรมทางการเมือง เศรษฐกิจและสังคม

                                                                           ธรรมาภิบาล
                                                                          ธรรมาภิบาล
                                                                           ธรรมาภิบาล
                                                                          ธรรมาภิบาล
                                                                          ธรรมาภิบาล  
                                                                           ธรรมาภิบาล


     ดังนั้น ความขรุขระทางการเมือง จึงเป็นอุปสรรคและปัญหาในทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม อย่างเสร็จสรรพ  ซึ่งเป็นวิธีนอกระบบ ในการละเมิดระบอบประขาธิปไตย อย่างพร้อมสรรพ เท่ากับนำไปสู่การมีกฎหมายรัฐธรรมนูญ ที่ขัดแย้งกับหลักธรรมาภิบาล และเกิดความขัดแย้งทางการเมือง เศรษฐกิจและสังคม  อย่างต่อเนื่อง เสร็จสรรพ 
" นะโมพุทธายะ มะอะอุ อุอะมะ ยะธาพุทโมนะ "

วันอังคารที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2558

ความปรองดองแห่งมนุษยชาติ ( unity of humankind )


โดย สีเลือดเดียว
ผมเป็นนรชนธรรมดาคนหนึ่ง ซึ่งไม่ได้มีอำนาจบารมีทั้งทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม 
มองว่า ความปรองดองแห่งมนุษยชาติ ไม่ได้เกิดขึ้นจากการเจรจาหรือการใช้กองกำลังสร้างความวุ่นวายทางการเมือง เศรษฐกิจและสังคม เพื่อใช้เป็นเงื่อนไขในการตกลงเรื่องผลประโยชน์ของฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งหรือตกลงในผลประโยชน์ของทั้ง2 ฝ่าย เพราะเป็นหลักการหรือวิธีการที่ละเมิดต่อเจตนารมณ์ในความปรองดองแห่งเป็นมนุษยชาติ อย่างเสร็จสรรพ ซึ่งเป็นสิงที่ละเมิดต่อวินัยและคุณธรรม อย่างพร้อมสรรพ และนำไปสู่การทำลายความปรองดองและความสามัคคี อย่างเสร็จสรรพ ทุกรูปแบบ หากผลประโยชน์หรือเงื่อนไขที่ตกลงไว้ไม่ได้รับการตอบสนองตามความต้องการของฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งหรือผลประโยชน์ของทั้งสองฝ่าย ซึ่งเท่ากับเป็นการตกลงตามอำนาจบารมีหรือตกลงตามกิเลสตัณหาและกิเลสวัตถุหรือผลประโยชน์ส่วนตนเป็นสำคัญ เสร็จสรรพ
เจตนารมณ์ความปรองดองแห่งมนุษยชาติ ที่เสร็จสรรพ ควรต้องเป็นไป ดังนี้
1. ดำรงไว้ซึ่งความเป็นชาติ ศาสนาและมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
2. ดำรงไว้ซึ่งความเป็นชาติที่มีวินัยและคุณธรรมต่อตนเองและมนุษยชาติ
3. ดำรงไว้ซึ่งความเป็นชาติในหลักสิทธิมนุษยชนหรือมนุษยธรรม
4. ดำรงซึ่งความเป็นชาติที่มีสิทธิเสรีภาพ ความเสอมภาคและภราดรภาพ
5. ดำรงไว้ซึ่งความเป็นชาติที่มีระบอบประชาธิปไตยแห่งมนุษยชาติ
วิธีการ
1. การวิจารณ์ตามหลักสุจริต3 แห่งศาสนา ถึงชาติ ศาสนาและประมุขของชาติเป็นสิทธิส่วนบุคคล ที่กระทำได้หากได้รับผลกระทบถึงสิทธิส่วนบุคคลและจะเป็นประโยชน์ต่อส่วนร่วมตามเจตนารมณ์ความปรองดองแห่งมนุษยชาติ และผู้วิจารณ์ก็พร้อมที่จะรับผิดชอบ ตามกระบวนการยุติธรรม
2. ให้ปวงชนเข้าถึงสิทธิเสรีภาพ ทั้งทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม โดยเจตนารมณ์ความปรองดองแห่งมนุษยชาติ
3. ปวงชนการดำเนินการทางการเมืองเป็นไปตามระบอบประชาธิปไตย และการเลือกตั้งต้องเป็นไปอย่างบริสุทธิ์ยุติธรรม ซึ่งรัฐบาลและฝ่ายค้านต้องดำเนินงานทางการเมืองในระบบรัฐสภา โดยเจตนารมณ์ความปรองดองแห่งมนุษยชาติ อย่างไม่ย่อท้อ
4. พรรคการเมือง และนักการเมืองดำเนินการทางการเมืองโดยเจตนารมณ์ความปรองดองแห่งมนุษยชาติ แต่เมื่อพรรคการเมือง และนักการเมือง ไม่ดำเนินการตามเจตนารมณ์ความปรองดองแห่งชาติ เท่ากับเป็นผู้ละเมิดต่อเจตนารมณ์ความปรองดองแห่งมนุษยชาติ อย่างเสร็จสรรพ
5. ผู้คิดต่างทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมไม่ใช่ศัตรูทางการเมืองหรือไม่ใช่ศัตรูของประเทศชาติ แต่เป็นผู้ละเมิดต่อเจตนารมณ์ความปรองดองแห่งมนุษยชาติ อย่างเสร็จสรรพ
ดังนั้น เจตนารมณ์ความปรองดองแห่งมนุษยชาติ จึงไม่ใช่เจตนารมณ์สนองความต้องการของใครคนใดคนหนึ่งหรือไม่ใช่การสนองความต้องการของคนกลุ่มใดกลุ่มหรือพรรคการเมืองใดพรรคการเมืองหนึ่งเป็นสำคัญ แต่เป็นเจตนารมณ์สนองเจตนารมณ์ความปรองดองแห่งมนุษยชาติ หรือเจตนารมณ์สร้างระบอบประชาธิปไตย ที่พร้อมสรรพ ซึ่งเป็นเจตนารมณ์เพื่อปวงชนอย่างเสร็จสรรพ และจะพร้อม
สรรพ เมื่อปวงชนสร้างความสงบหรือความปรองดองในตนเองให้มากที่สุด หากดินจะแตกแห้งบ้าง ดินภูเขาจะถล่มบ้าง จะมีพายุบ้าง ท้องฟ้าจะมีเมฆบ้าง น้ำจะท่วมบ้าง ทะเลมีคลื่นบ้าง และจะมีไฟบ้าง ก็จะไม่ใช่ภัยพิบัติใด ๆ อย่างเสร็จสรรพ นอกจากเป็นภัยธรรมชาตินรชนแห่งสัตบุรุษ ที่จะกำจัดภัยแห่งมนุษยชาติให้เสร็จสรรพ คือ กิเลสตัณหาและกิเลสวัตถุ ทางการเมือง เศรษฐกิจและสังคม อย่างพร้อมสรรพ 
ดั่งคำกล่าวที่ว่า “เขาว่าพระโคตมพระพุทธเจ้าเป็นผู้ช่างกำจัด ฯ “
ซึ่งแก่นแท้แห่งความหมายนี้ คือ การกำจัดกิเลสตัณหาและกิเลสวัตถุให้หมดไปจากนรชน อย่างเสร็จสรรพ เท่ากับเป็นความปรองดองแห่งสรรพสิ่ง อย่างเสร็จสรรพ จากความปรองดองแห่งมนุษยชาติ ที่พร้อมสรรพ
นะโมพุทธายะ มะอะอุ

วันเสาร์ที่ 11 เมษายน พ.ศ. 2558

ความสงบ (Clamness )

ประเด็นปัญหาความไม่สงบใน3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย และความไม่สงบในทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม  ซึ่งความสงบเกิดจากศีัล สมาธิ ปัญญา ที่นำไปสู่

ความเมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา อย่างมีสติ สัมปชัญญะ อย่างพร้อมสรรพ ซึ่งเป็นวินัยและคุณธรรมแห่งมนุษยชาติ ทุกเชื้อชาติ ศาสนา อย่างเสร็จสรรพ
Problem unrest issue in three borderland South province of Thailand , and the unrest in the sense of politics , economy , and the social , which , the calmness is born from , concentration , intellect , at bring about to kindness , please , rejoicing with others in their happiness or prosperity , leg land , consciously , sense , completely , which , be the discipline and mankind virtue , every race , religion , fully ,