วันพฤหัสบดีที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2556

ยับยั้ง เพื่อสกัดและจำกัด...อย่างพร้อมสรรพ (halt for separate and limit ... , completely )


โดย...สายชน   อหิงสา
 
     ประเด็นการแก้ไขรัฐธรรมนูญ 2550 การออกพ.ร.บ.นิรโทษกรรมทางการเมือง การออกพ.ร.บ.กู้เงิน2ล้านล้านบาท การออกพ.ร.บ.ความปรองดองแห่งชาติและการปฏิรูปการเมือง ถือว่าเป็นการยืนหยัดพัฒนาการเมืองระบอบประชาธิปไตย อย่างพร้อมสรรพ แต่ถ้าระบอบประชาธิปไตยทั้ง 3 วาระ หรือวาระใดวาระหนึ่งถูกยับยั้งหรือถูกสกัดหรือถูกจำกัดสิทธิเสรีภาพ ไม่ว่าจะเป็นใน วาระที่ 1 การเสนอนโยบายของพรรคการเมืองต่อมนุษยชาติ วาระที่ 2 การดำเนินการตามนโยบายของพรรครัฐบาล โดยเสนอเป็นร่างกฎหมายต่อรัฐสภา 3 วาระ และวาระที่ 3 การรายงานผลงานต่อรัฐสภาและสาธารณชน ถือว่าเป็นการยับยั้ง เพื่อสกัดและจำกัดสิทธิเสรีภาพ ความเสมอภาคและภราดรภาพทั้งทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ภายใต้รัฐธรรมนูญ แบบมีรัฐสภา อย่างพร้อมสรรพ
 editing constitution issue , 2550 Buddhist enactment amnesty eras are political , the enactment borrows money million million 2 a baht , unity National enactment and politics reform , be regarded as making a stand development democracy city , completely , but , if , 3 both of democracies are occasion , or , which occasion the one occasion was halted or , separated or , imprison bite the liberty and rights , neither be in , 1 presenting policy occasion of the political party builds [ wasp ] the mankind , 2 administration occasions follow the policy s in the government party , by present bill build [ wasp ] 3 occasion parliaments , and 3 report work occasions build [ wasp ] the parliament and the public , be regarded as the suppression , for separate and limit the liberty and rights , the equality and both of economical brotherhood , social , and democracy politics has great shape king is a leader , beneath the constitution , like [ model ] to have the parliament , completely ,

วันอังคารที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2556

เสียงข้างมากในสภา คือ เสียงประชาธิปไตย (the majority in a council be democracy sound )

  โดย...สายชน
เจตนารมณ์เหตุการณ์ทางการเมืองเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2475 คือ การปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ภายใต้รัีฐธรรมนูญ แบบมีรัฐสภา
แต่ตลอดระยะเวลา 81 ปี นับถึงปัจจุบัน มีการรัฐประหารไปแล้ว 12 ครั้ง จึงได้มีกลุ่มคนทางการเมืองระบอ
บประชาธิปไตยทั้งรุ่นเก่าและรุ่นใหม่ พยายามรักษาเจตนารมณ์ และพัฒนาการเมือง มาอย่างต่อเนื่อง จึงนำไปสู่การเกิดรัฐธรรมนูญ พุทธศักราช 2540 ขึ้นมาตามระบอบประชาธิปไตย ทุกกระบวนการ แต่ระบอบประชาธิปไตย ก็เดินทางไปได้แค่หางอึ่งเป็นช่วงๆ และในวันที่ 19 กันยายน 2549 ก็เกิดการรัฐประหารระบอบประชาธิปไตย ซึ่งนับเป็นการรัฐประหาร ครั้งที่ 12 หรือการล้มล้างรัฐบาลในขณะนั้น อย่างพร้อมสรรพ และส่งผลให้เกิดรัฐธรรมนูญ พุทธศักราช 2550 ซึ่งถ้าพูดแบบตรงๆ เป็นรัฐธรรมนูญที่เกิดจากการรัฐประหาร
ปัจจุบันรัฐบาล โดยสมาชิกแห่งรัฐสภา ได้แก้ไขรัฐธรรมนูญ พุทธศักราช 2550 ออกพระราชบัญญัตินิรโทษกรรม, ออกพระราชบัญญัติความปรองดองแห่งชาติ ออกพระราชบัญญัติเงินกู้2ล้านล้านบาทและ
การปฏิรูปการเมือง ในหลักการและกระบวนการดำเนินการถือว่าเป็นไปเจตนารมณ์ของการเมืองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ภายใต้รัฐธรรมนูญ แบบมีรัฐสภา
ดังนั้น จึงกล่าวได้ว่า ประเทศไทย ได้เริ่มออกเืดินทางและอยู่บนเส้นทางต
รงของการเมืิองระบอบประชาธิปไตย มาตั้งแต่วันที่ 24 มิถุนายน  พุทธศักราช 2475 และทางตรงช่วงต่อจากนี้ไป ถือเป็นช่วงทางตรงมุ่งถึงเส้นชัย ทั้งในทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองตามเจตนารมณ์ของการเมืองการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ภายใต้รัฐธรรมนูญ แบบมีรัฐสภา และเมื่อสมาชิกรัฐสภาและมนุษยชาติของประเทศ ได้ยึดมั่นตามเจตนารมณ์การเมืองของประเทศชาติ คำว่า"ประเทศถึงทางโค้ง ประเทศถึงทางแยก ประเทศถึงทางตัน และประเทศชาติถึงทางจอดดับ...ก็จะไม่มีในวิสัยทัศน์ของความเป็นมนุษยชาติ "
events political intention when , date 24 June 2475 be , the administration in democracy has great shape king is a leader , beneath the constitutional law , like [ model ] to have the parliament , but , through 81 period of times year , count arrive at now , there is the coup d'etat goes to 12 already time , then have political democracy both of past generation crowd and the new model , try heal the intention , and city development , come to continuously , then bring about to constitution occurrence , 2540 Buddhist eras upward to area the democracy , every the procedure , but , democracy , as a result , travel to get only bullfrog tail periodically , and in date 19 September 2549 , be born coup democracy d'etat , which , regard the coup d'etat , time that 12 or , government demolition at that time , completely , and cause the constitution , 2550 Buddhist eras are which , if , speak like [ model ] , uprightly , be the constitution where is born from the coup d'etat , now the government , by parliament member , get correct the constitution , 2550 Buddhist eras enact an amnesty , , enact National unity , enact million million 2 baht loans and politics reform , in the principle and the procedure manage to are regarded as happen the intention of democracy politics have great shape king are a leader , beneath the constitution , like [ model ] to have the parliament , thus , then can deliver a speech that ,  , Thailand , get begin go out way earth and is on straight route of something the democracy , come to since , date 24 June , 2475 Buddhist eras and direct period way from now ,  , regard direct way period is bound for arrive at the goal , both of in the sense of the economy , social , and politics follows the intention of administration democracy politics have great shape king are a leader , beneath the constitution , like [ model ] to have the parliament , and when , a member of parliament and the mankind of the country , get persist follow politics intention in the nation , the word is that , " , the country arrives at the curve , the country arrives at the crossroad , the country arrives at the dead end , and the nation arrives at the way stops to switch off ... , as a result , will have no in the vision of the be mankind  " 

วันอาทิตย์ที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2556

อโหสิกรรมประชาธิปไตย กับ จองจำประชาธิปไตย ( forgive the democracy with imprison the democracy )


ประเด็นพรรคเพื่อไทย ยันมีกลุ่มจ้องล้มรัฐบาลตามที่ พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร วิเคราะห์จริง...นั้น เพราะเหตุผลการดำเนินการตามนโยบายของพรรคการเมืองรัฐบาลและพรรคร่วมรัฐบาล ดังนี้
1. การออกพ.ร.บความปรองดองแห่งชาติ
2. การแก้ไขรัฐธรรมนูญ 2550
3. การออกพ.ร.บ.นิรโทษกรรมฯ
4. การออกพ.ร.บ.กู้เงิน 2 ล้านล้านบาท
5. การปฏิรูปการเมือง
ซึ่งทั้ง 5 ข้อ พรรคฝ่า่ยค้าน ก้ได้แสดงออกอย่างชัดเจนทั้งทางบวกและลบอย่างพร้อมสรรพ...ว่าไม่เห็นชอบ ทั้งในเวทีรัฐสภาและนอกเวทีรัฐสภา ด้วยเหตุผล  เพราะ...
1. การออกพ.ร.บ.ความปรองดองแห่งชาติ อาจนำพาพ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร กลับประเทศชาติ อย่างพร้อมสรรพ
2. การแก้ไขรัฐธรรมนูญ 2550
    2.1 อาจเชื่อมโยงให้การดำเนินการในข้อที่ 1 เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล อย่างพร้อมสรรพ
    2. 2 อาจทำให้พรรคเพื่อไทย สามารถควบคุมเสียงทั้งในสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา ได้อย่างพร้อมสรรพ
    2. 3 อาจนำไปสู่การเป็นระบอบประชาธิปไตย แบบเบ็ดเสร็จ ซึ่ง พรรคฝ่ายค้าน เรียกใช้คำแบบปลุกระดมมวลชนว่า " สภาเผด็จการ " จึงได้เฟ้นหาคำและช่องกฎหมายให้เชื่อมโยงไปสู่การยื่นฟ้องศาลรัฐธรรมนูญ ว่าการแก้ไขรัฐธรรมนูญ 2550 ขัดแย้งกับกฎหมายรัฐธรรมนูญ 2550  มาตรา 68
3. การออกพ.ร.บ.นิรโทษกรรมฯ อาจนำพาให้พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร ได้รับความเป็นธรรม อย่างพร้อมสรรพ
4. การออกพ.ร.บ.เงินกู้ 2 ล้านล้านบาท อาจเป็นการกู้มาสร้างประชานิยม , กู้มาหาผลประโยชน์ทับซ้อน และนำไปสู่การทุจริตคอร์รัปชั่น อย่างพร้อมสรรพ
5. การปฏิรูปการเมือง อาจเป็นการปฏิรูปตามนโยบายพ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร เป็นสำคัญ
จากภารกิจตามขอบข่ายนโยบายของรัฐบาลทั้ง 5 ข้อ ถือเป็นการใช้สิทธิเสรีภาพ ความเสมอภาคและภราดรภาพ ในการดำเนินการแก้ไข และพัฒนาชาติทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคมและการเมืองตามระบอบประชาธิปไตย อย่างพร้อมสรรพ หรือ เรียกว่า"ประชาธิปไตยอโหสิกรรม" ก็สร้างสรรค์ไม่ผิด ซึ่งก็ไม่ได้สร้างความเสียหายต่อระบบหรือองค์กรใด แต่กลับสร้างคุณธรรมและสิทธิมนุษยชนให้แก่ชาติทั้งปวง
แต่ที่ฝ่ายค้าน คัดค้านและต่อต้านนโยบายรัฐบาล ทั้งทางตรงและทางอ้อม โดยยึดโยงถึง พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร เท่านั้น จึงถือเป็นการคัดค้านและต่อค้านการแก้ไขและพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจ สังคมและการเมืองระบอบประชาธิปไตยโดยรวม  ซึ่งอาจนำไปสู่การทำลายระบอบประชาธิปไตย อย่างพร้อมสรรพ หรือจะเรียกว่า การคัดค้านจองจำระบอบประชาธิปไตย ก็คงไม่ผิดนัก

วันเสาร์ที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2556

ยืนหยัดที่สอดคล้อง แต่สกัดที่ขัดแย้ง มาตรา 8







 โดย..ธรรมชน  อหิงสา
เจตนารมณ์มาตรา 68แห่งรัฐธรรมนูญ 2550 คือ ไม่ให้มีการใช้สิทธิเสรีภาพ ที่ขัดแย้งกับรัฐธรรมนูญ เพื่อเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ภายใต้รัฐธรรมนูญ แบบมีรัฐสภา ไปเป็นการปกครองระบอบอื่น
     การแก้ไขรัฐธรรมนูญ 2550 ถึงแม้แก้บางมาตราหรือทั้งฉบับ แต่ถ้าการแก้ไขยืนหยัดในการเมืองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ภายใต้รัฐธรรมนูญ แบบมีรัฐสภา ไม่ได้มุ่งหวังที่จะเปลี่ยนแปลงการเมืองการปกครองที่มีมาตั้งแต่วันที่ 24 มิถุนายน 2475 เป็นต้นมาถึงปัจจุบัน ก็ถือว่าเป็นสิทธิอันชอบธรรมของฝ่ายนิติบัญญัติ ที่จะสร้างความเป็นธรรมให้แก่ประเทศชาติ  ด้วยการเมืองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ภายใต้รัฐธรรมนูญ  แบบมีรัฐสภา และในประเด็นที่ฝ่ายค้านจะยื่นศาลรัฐธรรมนูญตีความว่าการแก้ไขรัฐธรรมนูญที่มาของสมาชิกวุฒิสภา ขัดรัฐธรรมนูญ 2550  มาตรา 68 นั้น เปรียบเหมือนพายเรือบนบก  ซึ่งการพายเรือบนบกจะเป็นไปได้ยาก แต่ถ้าใช้ระบอบเผด็จการทั้งทางตรงและทางอ้อม การพายเรือบนบกก็เคลื่อนไปได้ เช่นใช้การฉุดกระชากลากจูง เป็นต้น ซึ่งวิธีนี้เอง คือ วิธีการที่ขัดแย้งกับเจตนารมณ์มาตรา68 แห่งรัฐธรรมนูญ อย่างชัดเจน
     ที่จริงฝ่ายค้านยื่นตีความ การแก้ไขรัฐธรรมนูญ ที่มาของสมาชิกวุฒิสภา ขัดรัฐธรรมนูญ เพราะ ฝ่ายค้านคงยอมรับทั้งทางตรงและทางอ้อมว่าต้องพ่ายแพ้การเลือกตั้ง และต้องแพ้ในสภาไปด้วยอย่างพร้อมสรรพ ซึ่งฝ่ายค้านได้เรียบเรียงใช้เป็นภาษาเรียกแบบปลุกระดมมวลชนว่า " เผด็จการทางรัฐสภา " ซึ่งรูปธรรมของเผด็จการทางรัฐสภา ไม่ได้อยู่ที่ว่าฝ่ายใดที่ใช้ระบอบประชาธิปไตยสามารถคุมเสียงในสภาได้มากว่า เพราะถ้าเปรียบเทียบได้ ก็เปรียบดั่งศาสดาของแต่ละเชื่อชาติ ศาสนา ที่ใช้สิทธิเสรีภาพ ความเสมอภาคและภราดรภาพ ในการใช้หลักการทางคุณธรรมเพื่อชี้นำให้มนุษย์ในสังคม ในประเทศและในโลกได้เห็น ได้รับรู้ และเลือกที่จะใช้หลักคุณธรรมของศาสนา นั้นๆโดยใช้สิทธิเสรีภาพ ความเสมอภาคและภราดรภาพ และเมื่อมีจำนวนมนุษย์มากที่สุดในสังคมใด ในประเทศใดและโลก ยอมรับในสัญชาติใด เชื้อชาติ ศาสนาใดหรือความคิดเห็นทางการเมืองแบบใดแล้ว จะเรียกว่าเป็นเผด็จการทางสังคม เผด็จการในประเทศหรือเผด็จการทางโลก...อย่างนั้นหรือ  ที่สำคัญ...คำว่า”ระบอบเผด็จการ” ..ต่างกันอย่างสิ้นเชิง กับ คำว่า "การปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ภายใต้รัฐธรรมนูญ แบบมีรัฐสภา “


     ดังนั้น การที่รัฐบาล โดยฝ่ายนิติบัญญัติ ดำเนินการแก้ไขรัฐธรรมนูญ 2550 ถือเป็นการยืนหยัดตามเจตนารมณ์ระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ภายใต้รัฐธรรมนูญ แบบมีรัฐสภา แต่ที่ฝ่ายค้านยืนหยัดสกัดกั้นทั้งทางตรงและทางอ้อม เป็นการยืนหยัดที่แสดงออกถึงการยอมรับในความพ่ายแพ้ทั้งในสภาและนอกสภา  การยืนหยัดสกัดกั้นการแก้ไขรัฐธรรมนูญหรือแม้กระทั่งการยืนหยัดสกัดกั้นการออกพ.ร.บ.นิรโทษกรรม การออกพ.ร.บ.ความปรองดองแห่งชาติและการออกพ.ร.บ.กู้เงินสองล้านล้านบาท จึงเป็นการยืนหยัดที่ไม่มีเหตุผลใดๆนอกจากใช้คำว่า “ขัดรัฐธรรมนูญ มาตรา68” ซึ่งถือเป็นเหตุผลที่ใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลมาอย่างต่อเนื่อง แต่ ปัจจุบัน เหตุผลดังกล่าวเป็นเหตุผลล้าหลัง เป็นเหตุผลที่ย้อนยุค และไปขัดแย้งกับมาตรา68 แห่งรัฐธรรมนูญ อย่างพร้อมสรรพ หรือขัดแย้งกับการเมืองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ภายใต้รัฐธรรมนูญ แบบมีรัฐสภาทั้งทางตรงและทางอ้อม อย่างชัดเจน