วันเสาร์ที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2555
วันพุธที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2555
มีจริง
เมื่อ 19 พ.ค.2555 อดีตนายกทักษิณ ใช้สิทธิส่วนบุคคล บอกว่าจะสร้างส่วนร่วม
โดยจะยุติการเคลื่อนไหวทางก ารเมือง แต่กลุ่มคนเสื้อแดง
ก็ใช้สิทธิส่วนบุคคลที่มีแน วคิดตรงกันแล้วกลายเป็นพลัง กลุ่ม สร้างระบอบประชาธิปไตยที่เป ็นของประชาชนโดยประชาชนและเ พื่อประชาชนที่แท้จริง
ไม่ใช่ประชาธิปไตยอิงศักดิน าแล้วได้ดี ไม่มีล่ม อิงกำลังพลแล้วยิ่งใหญ่ หรือ
อิงคนรวยเพื่อเงินอย่างเดีย ว.
คงมีคนบางคน บางกลุ่มเชื่อว่า นปช.หรือกลุ่มคนเสื้อแดงทั้ งหมดทำไปเพื่อเงิน ทำไปเชิงธุรกิจทางการเมือง
ถ้าอดีตนายกทักษิณพูดเสื้อแ ดงก็คงหยุด คงไม่ใช่ทั้งหมด
ก็เหมือนกับเหตุการณ์ความไม ่สงบทางภาคใต้ ที่บางคน บางกลุ่มหลอกตัวเอง
หลอกกันเองว่าไม่ใช่เหตุการ ณ์ต้นตอกแบ่งแยกดินแดน
สาเหตุใหญ่ข้อหนึ่งจากแหล่ง ข้อมูลหลายๆที่
เกิดจากผู้นับถืออิสลามกลุ่ มหนึ่งบอกว่าไม่ได้รับความเ ป็นธรรมจากรัฐและจึงต้องการ ปกครองตนเองเหมือนรัฐๆหนึ่ง อย่างประเทศที่มีการปกครองห ลายรัฐ เช่นเดียวกัน กับกลุ่ม
นปช.หรือกลุ่มคนเสื้อแดง ที่รวมตัวออกมาต่อต้านการทำ ลายระบอบประชาธิปไตยทุกวิถี ทาง ทั้งทางตรงและทางอ้อม อย่างสุดกำลัง
ประชาชนส่วนหนึ่งก็ทำไปด้วย ความรักและศรัทธาในตัวอดีตน ายกทักษิณจากผลงาน
ส่วนหนึ่งเกิดจากแนวความคิด และอุดมการณ์ที่มีอยู่แล้ว
บังเอิญมาพบกันอดีตนายกทักษ ิณเข้าระหว่างทาง
จึงอาศัยซึ่งกันและกันผลักด ันการเปลี่ยนแปลงการเมืองไท ยให้เป็นระบอบประชาธิปไตยอย ่างแท้จริง อย่างว่าอดีตนายกทักษิณ
ท่านเป็นนักธุรกิจมืออาชีพ จึงมุ่งทำธุรกิจเพื่อการเมื องพัฒนาประเทศชาติ
ซึ่งก็ดีกว่าทำการเมืองเป็น ธุรกิจเป็นหลายร้อยเท่า
แต่ใครเหล่าจะทำธุรกิจและกา รเมือง
เพื่อประชาธิปไตยให้เป็นของ ประชาชน
โดยประชาชนและเพื่อประชาชนอ ย่างแท้จริง.
วันศุกร์ที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2555
เสียงนอกสภาประชาธิปไตย
รัฐธรรมนูญ พ.ศ.2550 ได้มาโดยการทำรัฐประหาร จึงถือว่าได้มาโดยมิชอบ จึงสนับสนุนพิจารณาแก้ไขทั้งฉบั
1. ผิดหลักคุณธรรม จริยธรรมประชาธิปไตย คือ ใช้อาวุธ กฏหมายเชิงอคติและกล่าวอ้างถึงส
2. ผิดหลักนิติธรรมระบอบประชาธิปไต
3. ผิดหลักความโปร่งใส คือ ไม่เป็นประชาธิปไตย
4. ผิดหลักการมีส่วนร่วม คือไม่เป็นประชาธิปไตย
5. ผิดความรับผิดชอบ คือ ไม่ส่งเสริมประชาธิปไตย
6. ผิดหลักการความคุ้มค่า คือ รัฐธรรมนูญที่ได้มาโดยรัฐประหาร
วันอาทิตย์ที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2555
ประชาธิปไตย ไม่จำกัดฝ่าย
ฝรั่งเศล เป็นประเทศที่มีการปกครองในระบอบประชาธิปไตยที่ดีอีกประเทศหนึ่ง ที่ส่งเสริมความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ท่ามกลางความหลากหลายทางความคิดของความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ แต่พลิกวิกฤตความหลากหลาย ให้กลายเป็นระบอบประชาธิปไตยที่ดีที่สุด ของประชาชน โดยประชาชนและเพื่อประชาชน โดยประชาชนยอมรับอำนาจตามระบอบประชาธิปไตย ที่ไม่ยึดติดฝ่ายซ้าย ฝ่ายขวา หรือฝ่ายกลาง จากผลการเลือกตั้งประธานาธิบดีฝรั่งเศล เมื่อ 7พ.ค.2555 นายฟรังซัวส์ ออลลองด์ จากพรรคสังคมนิยม ฝ่ายซ้าย ได้รับชัยชนะจากการเลือกตั้ง แต่นโยบายทางการเมืองแต่ละฝ่ายยึดติด 1) แก้ปัญหาและพัฒนาเศรษฐกิจ 2) ลดความเหลี่ยมล้ำทางสังคม 3)เสริมสร้างระบอบประชาธิปไตย 4)ขจัดภัยยาเสพติด ฝรั่งเศล เป็นตัวอย่างของประเทศที่มีมาตรฐานสากลอีกประเทศหนึ่ง ทั้งทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและการศึกษา
วันพุธที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2555
ความสมดุลที่สมบูรณ์
ระบอบประชาธิปไตย ไม่ใชระบบที่มีการกากบาทโดยการชักจูง หรือบังคับให้กระทำโดยสิ่งหนึ่งสิ่งใดไม่ว่าจะเป็นสิ่งของ บุคคล กลุ่มบุคคล หรืออำนาจบารมีใดๆ แต่เป็นระบบ ที่ต้องกากบาทโดยยืนอยู่บนพื้นฐานของอุดมการณ์ของตนเองหรืกลุ่มอุดมการณ์เดียวกันเป็นสำคัญ ประชาธิปไตยไม่ใช่บุญคุณ แต่ไม่เนรคุณ รัฐธรรมนูญญี่ปุ่นฉบับปัจจุบัน ถือว่าเป็นรัฐธรรมนูญที่เป็นประชาธิปไตยมากที่สุดอีกฉบับหนึ่งในระดับสากล ซึ่งแยกสถาบันกษตริย์และสถาบันประชาธิปไตยออกจากกันอย่างชัดเจน จึงเป็นการตัดไฟแต่ต้นลมที่จะมีการกล่าวอ้างถึงสถาบันประมุขของประเทศ เข้ามาล่วงล้ำอำนาจประชาธิปไตย และประชาธิปไตยก็จะไม่ไปล่วงล้ำถึงสถาบัน นั้นหมายถึงการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ที่มีความสมดุล
แบบสมบูรณ์
แบบสมบูรณ์
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)